การบริหารความสัมพันธ์ผู้ส่งมอบและลูกค้า จากมุมมองของผู้ผลิตในอุตสาหกรรมยานยนต์

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

นุกูล ศรีเมืองแก้ว
ระพี กาญจนะ

摘要

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความสำคัญของกิจกรรมด้านการบริหารความสัมพันธ์กับผู้ส่งมอบและลูกค้า จากมุมมองของผู้ผลิตในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยนี้เป็นแบบสอบถาม ทำการเก็บข้อมูล 4 ส่วน คือ วัตถุประสงค์ ปัจจัยสนับสนุน อุปสรรคในการสร้างความสัมพันธ์และกิจกรรมที่ผู้ส่งมอบและลูกค้าเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานของผู้ผลิต จากการวิเคราะห์แบบสอบถาม 206 ชุด พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ให้ระดับความสำคัญของวัตถุประสงค์หลักในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ส่งมอบและลูกค้าคือการเพิ่มผลกำไร ส่วนปัจจัยที่สนับสนุนและอุปสรรคที่สำคัญมากที่สุดคือความไว้วางใจซึ่งกันและกัน และขาดความเข้าใจในแนวคิดตามลำดับ ด้านกิจกรรมที่ผู้ผลิตต้องการให้ผู้ส่งมอบและลูกค้าเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานมากที่สุดคือการแลกเปลี่ยนข้อมูล นอกจากนี้ผลการศึกษายังชี้ให้เห็นอีกอีกว่าผู้ผลิตให้ระดับความสำคัญของกิจกรรมความสัมพันธ์กับลูกค้ามากกว่าผู้ส่งมอบ แม้ว่าการศึกษานี้จะเป็นเพียงการศึกษาเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ แต่อย่างน้อยก็ได้นำเสนอแนวคิด ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ผลิตทั้งในอุตสาหกรรมยานยนต์หรืออุตสาหกรรมประเภทอื่น เพื่อการปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมด้านการบริหารความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้ส่งมอบและลูกค้าให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

##submission.howToCite##
栏目
Research Articles

参考

[1] โกศลคีศีลธรรม. การสร้างประสิทธิผล ห่วงโซ่.คุณค่าธุรกิจยุคใหม่. [ออนไลน์] :http://www.tqmbest.com (6เมษายน 2552)
[2] ชื่นจิตต์ แข้งเจนกิจ, 2544. การบริหารลูกค้าสัมพันธ์. บริษัท ทิปปิ้ง พอยท์ จำกัดกรุงเทพมหานคร.
[3] ปรารถนา ปุณณกิติเกษม, 2552. การศึกษาลำดับความสำคัญของตัวแปรที่ส่งผลต่อการประยุกต์ใช้กลยุทธ์โถจิสติกส์แบบย้อกลับ.วิศวสารลาดกระบัง. 26 (3):55-60
[4] ดวงพรรณ กริชชาญชัย ศฤงคารินทร์,2549.โซ่อุปทานและโลจิสติกส์: ทฤษฎี-งานวิจัยกรณีศึกษา. บริษัท ไอทีแอล เทรด มีเดีย จำกัด, กรุงเทพมหานคร.
[5] รุธิร์ พนมยงค์, ศิริวรรณ ไชยสูรยกานต์, ไพฑูรย์วราเคชสถิตวงศ์และสุวัฒนา จารุมิลินท.2550. การจัดหาและการบริหารความสัมพันธ์กับผู้ส่งมอบในโซ่อุปทาน.บริษัท ไอทีแอลเทรด มีเดีย จำกัด , กรุงเทพมหานคร.(สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. 2540. บทความเศรษฐกิจอุตสาหกรรม.[ออนไลน์]:http://www.oie.go.th/index.asp. (6เมษายน2552)
[7] Corsten,D., and Felde,J. 2005. Exploring the performance effects of key-supplier collaboration An empirical investigation into Swiss buyer - supplier relationship.International Journal of Physical Distribution. 35 (6): 445 - 461
[8] Duffy,R., and Fearne, A. 2004 . The impact of supply chain partnerships on supplier performance. The International Journal of Logistics Management. 15(1):57-72.
[9] Furlan,A., Romano,P. and Camuffo,A. 2006.Customer-supplier integration forms in the air-conditioning industry. Journal of Manufacturing Technology Managemen.17 (5): 633 - 655.
[10] Groves,G. and Valsamakis, V. 1998. Supplier- Customer Relationships and Company Performance. The International Journal of Logistics Management. 9(2): 51-64.
[11] Gloria,M, and Talavara, V. 2008. Supply chain collaboration in the Philippines. Journal of International Business Research.7(2):65-83.
[12] Kayis,B. and Kara,S. 2004. The supplier and customer contribution to manufacturing flexibility Australian manufacturing industry's perspective. Journal of Manufacturing Technology Management. 16(7): 733-752.
[13] Lambert,D.M. and Pohlen,T.L. 2001. Supply Chain Metrice. The International Journal"of Logistics Management. 12(1): 1-15.
[14] Lamber,D.M., Cooper, M.C. and Pagh,J.D.1998. Supply chain management : Implementation issue and research opportunities . The International Journal of Logistics Management.9 :1-19.
[15] Li,Q., Su,Y. and Pei,Y. 2007. A Review and Analysis of Researches on Supply Chain Partnership. Proceedings of the IEEE International Conference on Automation and Logistics.7: 1846-1851.
[16] Mcintosh,G. and Fitzgeraid, E. 2000 .A survey of supply chain collaboration and management in the UK construction industry . European Journal of Purchasing and Supply Management .6: 159-168.
[17] Myhr, N.S., and Spekman,R. E. 2005.Collaborative supply-chain partnerships built upon trust and clectronically mediated exchange . Journal of Business & Industrial Marketing.3:179-186.
[18] Narasimhan, R, and Arlbjorn, J.S. 2008 .Information sharing buyer – supplier relationships and firm performance . The International Journal of Logistics Management. 1: 24-29.
[19] Prajogo,D.I,, Power,D.J., and Sohal,A.S. 2004.The role of trading partner relationships in determining innovation performance: an empirical examination . European Journal of Innovation Management. 7(3): 178-186.
[20] Srivastara,S.K. 2007. Green Supply chain management: A State of The Art Literatuer Review . The International Journal of Management Review.9:53-80
[21] Simatupang,T.M. and Sridharan,R. 2005.An integrative framework for supply chain collaboration . The International Journal of Logistics Management 35(1): 257-274
[22] Sahay, B.S. 2003. Supply chain collaboration:the key to value creation. The International Journal Logistics Management. 52(2):76-83
[23] Spensk. 2009. A Study of Supply Chain Management Practices in Finland and United . Operations And Supply Chain Management. 2 (2): 79-92.
[24] Vossb,C., and Burce,S.B. 2005. The impact of supply chain relationship quality on quality Performance . International Journal of Production Economics. 96 : 339-354
[25] Vereecke,A, and Muylle,S. 2006. Performance improvement through supply chain collaboration in Europe . International Journal of Operations & Production Management. 26(11):1176-119