การศึกษาสมบัติเชิงกลในกระบวนการชุบแข็งของการเชื่อมเหล็กกล้าไร้สนิม AISI 420 ด้วยแรงเสียดทานสำหรับอุตสาหกรรมการเชื่อมเพลา
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวแปรที่มีผลต่อการเชื่อมเหล็กกล้าไร้สนิม AISI 420 ด้วยแรงเสียดทาน โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 มิลลิเมตร ความยาว 100 มิลลิเมตร ภายใต้ปัจจัยการเชื่อมคือ แรงดันในการอัด 20, 25 และ 30 บาร์ เวลาในการอัด 5, 7 และ 9 วินาที ที่อุณหภูมิปกติและที่ผ่านกรรมวิธีการอบชุบ Hardening + Quenching, Hardening + Tempering และ Hardening + Full Annealing ความเร็วรอบ 2,500 รอบต่อนาที เมื่อเชื่อมเสร็จได้นำชิ้นงานเชื่อมไปทดสอบความแข็ง ความแข็งแรงดึง และถ่ายรูปเปรียบเทียบขนาดรอยเชื่อม การเชื่อมชิ้นงานด้วยแรงเสียดทานระหว่างชิ้นงานอุณหภูมิปกติและชิ้นงานที่ผ่านกรรมวิธีการอบชุบพบว่าชุบ Hardening + Tempering 30 บาร์ 9 วินาที หลังจากการเชื่อมชิ้นงานมีค่าแรงดึงสูงสุด และค่าความแข็งของรอยเชื่อมชิ้นงาน Hardening + Quenching 30 บาร์ 7 วินาที จะมีค่าความแข็งมากที่สุดทั้งแถวบนและแถวกลางที่จุด 0 มิลลิเมตร เมื่อเปรียบเทียบผลกับค่าความดัน เวลา อุณหภูมิแตกต่างกัน และในส่วนของขนาดรอยเชื่อมพบว่าที่ความดันมาก เวลามากจะได้ขนาดรอยเชื่อมที่ใหญ่ที่สุด
Article Details
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารแนวหน้าวิจัยนวัตกรรมทางวิศวกรรม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารฯ เท่านั้น ไม่อนุญาติให้บุคคลหรือหน่วยงานใดคัดลอกเนื้อหาทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่เพื่อกระทำการใด ๆ ที่ไม่ถูกต้องตามหลักจริยธรรม
References
The Welding Engineer’s Current Knowledge,Welding processesand equipment Materials and their behavior during welding Construction and design Fabrication, applications engineering Edition.2015
FPE GATWICK, [Internet]. Friction Welding,[cited 2019 Mar 10]. Available from :http://www.gawickhnologies.com/processes/friction-welding
Welding Handbook, Welding Processes,Part 2 Ninth Edition. Volume 3. 2007
Mumin Sahin H, Erol Akata and Gulmez T . 2550. Characterization of mechanical properties in AISI 1040 parts welded by friction welding Department of Mechanical Engineering, Trakya University.
Sahin, A.Z., Yibas, B.S., Ahmed, M., Nickel, J.Analysis of the friction welding process in relation to the welding of copper and steel bars. Journal of Materials Processing Technology. 1998;82(1-3):127–36
Seli, H, Ismail, A. I., Rachman, E., Ahmad,Z.A. Mechanical evaluation and thermal modelling of friction welding of mildsteel and aluminium. Journal of Materials Processing Technology.2010;210(9):1209–16.
Yilba, B.S., Sahin, A.Z., Kahraman,N.Friction welding of St-A1 and A1-Cu materilas. Journal of Materials Processing Technology. 1995;49(3-4):431–43.
Sahin M. Joining with friction welding of high-speed steel and mediumcarbon steel. Journal of Materials Processing Technology. 2005;168(2):202-10.
Mana Tantit Bundit 2003 Industrial Material Testing, Bangkok: TSB Products (in Thai)
Narapinij P, Saramath S, Torsakul S.study of hardening process effect on the aisi 1045 steel by friction welding for shaft welding industries. Kasem Bundit Engineering Journal.2016;6(1):122-33. (in Thai)