ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความแข็งแรงของตะเข็บที่เชื่อมติดด้วยอัลตร้าโซนิค

Main Article Content

พิษณุ แสงวัฒนะ
ปลื้มจิตต์ เตชธรรมรักข์

บทคัดย่อ

การตัดเย็บเสื้อผ้าสำเร็จรูปส่วนใหญ่จะต้องใช้จักรอุตสาหกรรม ที่ทำให้ผ้าเชื่อมติดกันด้วยด้ายเย็บอย่างไรก็ตามยังมีข้อจำกัด เมื่อผู้บริโภคบางกลุ่มต้องการเสื้อผ้าที่มีลักษณะพิศษ นำไปใชังานตามวัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น ชุดล่นสกีเสื้อคลุมมกันฝน โดยผู้ผลิดเครื่องนุ่งห่มมักประสบปัญหาในเรื่องน้ำซึมบริเวณแนวตะเข็บด้วยสาเหตุดังกล่าว ได้มีการประยุกต์ ใช้คลื่นความถี่เสียงเชื่อมแนวตะเข็บผ้าแทนการเย็บด้วยเส้นด้าย ซึ่งการศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความแข็งแรงที่ยึดติดด้วยอัลตร้าโชนิคโดยใช้ผ้าตัวอย่างสามชนิคคือ ผ้าทอพอลิเอสตอร์ ผ้าทอไนล่อน และผ้าทอไนล่อนเคลือบพอยูรีเทน พบว่า ความเข็งแรงของตะเข็บก่อนและหลังการชัก 5 ครั้ง มีความแตกต่างกันน้อยมาก แต่ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความแข็งแรงของตะเข็บเป็นอย่างมากคือ ความเร็วในการเย็บเชื่อมต่อ

Article Details

How to Cite
แสงวัฒนะ พ. ., & เตชธรรมรักข์ ป. . (2008). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความแข็งแรงของตะเข็บที่เชื่อมติดด้วยอัลตร้าโซนิค. แนวหน้าวิจัยนวัตกรรมทางวิศวกรรม, 12, 71–75. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/jermutt/article/view/242205
บท
บทความวิจัย

References

1) Kathryn L. Hatch. Textile Science. University
of Arizona Tucson, 110-224.
2) Lyle Dorothy Siegert. Modern textiles, 51-57.
3) Sara J. Kadolph, Quality Assurance for Textile and Apparel, .158-166.
4) รองศาสตราจารย์ ดร. วีระศักดิ อคมกิจเดชา. วิทยาศาสตร์ เส้นใย. คณะวิทยาศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า177-203
5) Frank K. KO, (Abstract of "Seaming and Joining Methods', 1987. pp.93-107), Available:ElsevierLtd. Elsevier (19 January 2010).
6) Vladimir K. Astashev and Vladimir I. Babitsky,Ultrasonic Processes and Machines, pp.93- 107
7) A. SHOH, Ultrasonic, 1976, pp.209-216