การศึกษาสมบัติของวัสดุฉนวนกันความร้อนแบบแผ่นแซนวิชรังผึ้งไม้อัด ด้วยวิธีการจำลองไฟไนต์เอลิเมนต์
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการประยุกต์ใช้แผ่นแซนวิชรังผึ้งเสริมแผ่นไม้สำหรับใช้เป็นโครงสร้างอาคารทดแทนวัสดุก่อสร้างอื่น การเลือกใช้แผ่นไม้อัดเพื่อเสริมแผ่นแซนวิชรังผึ้งจะใช้ไม้อัดที่ขายตามร้านค้าท้องถิ่นคือแผ่นไม้อัดจีนแผ่นไม้อัดยาง และแผ่นไม้อัดสัก การวิเคราะห์โครงสร้างใช้การจำลองไฟไนต์เอลิเมนต์เพื่อทดสอบการถ่ายเทความร้อนของวัสดุแซนวิชแต่ละชนิด ผลการจำลองไฟไนต์เอลิเมนต์ พบว่าการเสริมไม่อัดในวัสดุสามารถลดปริมาณการนำความร้อนลงได้ ซึ่งไม้อัดทั้งสามชนิดที่นำมาทดสอบมีค่าการการนำความร้อนใกล้เคียงกัน ผลการจำลองไฟไนต์เอลิเมนต์การถ่ายเทความร้อนสำหรับวัสดุแซนวิชเสริมไม้อัดยาง ตามลำดับ และมีค่าอุณหภูมิแตกต่างประมาณ 0.1 องศาเซลเซียส
Article Details
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารแนวหน้าวิจัยนวัตกรรมทางวิศวกรรม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารฯ เท่านั้น ไม่อนุญาติให้บุคคลหรือหน่วยงานใดคัดลอกเนื้อหาทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่เพื่อกระทำการใด ๆ ที่ไม่ถูกต้องตามหลักจริยธรรม
References
Allen, H.G. 1969. Analysis and Design of Structural Sandwich Panels. London:Pergamon Press.
Bathe, K.J. 2002. Finite-Elemente-Methoden.Auflage 2. Berlin: Springer-Verlag,
Pflug, J., Vagrimde, B., & Verpoest, I. (2003).MaterialEfficiency and Cost Effectiveness of Sandwich Materials. Katholieke Universiteit Leuven, Belgium.
Burman, M.1998. Fatigue Crack Initiation and Propagation in Sandwich Structures.
Division of Lightweight Structures, Royal Institute of Technology, Stockholm.
Zenkert, D.1997. The Handbook of Sanwich Construction. London: EMAS.
Hohe, J.and Librescu, L.2004. Core and Face-Sheet Anisotropy in Deformation and Buckling of Sandwich Panels, AIAA Journal, 42.
Starlinger, A.(1991). Development of Efficient Finite Shell Elements for Analysis of Sandwich Structures under Large Instabilities. Dsseldorf: VDI-Verlag GmbH.
Kress, G., 2004. Strukturanalyse mit FEM. ETH, Swiss Federal Institute of Technology Zurich, Zrich.