A Study Mechanical Properties of Coconut Wood for Using in the Construction
Main Article Content
Abstract
การศึกษากลสมบัติของไม้มะพร้าวเพื่อนำมาใช้ในงานก่อสร้างนี้ ได้ทำการทดสอบคุณสมบัติต่างๆ ตามมาตรฐานวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยได้ ค่าความถ่วงจำเพาะเท่ากับ 0.53 ปริมาณความชื้นเท่ากับ 14.61% การดูดซึมน้ำเท่ากับ 65.22% น้ำหนักเท่ากับ 523.99 kg/m[superscript3] หน่วยแรงอัดขนานเสี้ยนที่จุด P.L. เท่ากับ 51.53 ksc หน่วยแรงดัดที่จุด P.L. เท่ากับ 511.40 ksc หน่วยแรงเฉือนประลัยขนานเสี้ยนเท่ากับ 49.57 ksc โมดูลัสแห่งความยืดหยุ่นโดยประมาณเท่ากับ 49.57 ksc โมดูลัส แห่งความยืดหยุ่นโดยประมาณเท่ากับ 33,407.16 ksc หน่วยแรงอัดขนานเสี้ยนที่ยอมให้เท่ากับ 38.24 ksc หน่วยแรงอัดตั้งฉากเสี้ยนที่ยอมให้เท่ากับ 21.64 ksc หน่วยแรงดัดที่ยอมให้เท่ากับ 78.68 ksc และหน่วยแรงเฉือนขนานเสี้ยนที่ยอมให้เท่ากับ 5.51 ksc
เมื่อนำค่าที่ได้เปรียบเทียบกับตารางจำแนกประเภทไม้ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยแล้วได้เป็นไม้ประเภทไม้เนื้ออ่อนมาก ไม่เหมาะสำหรับการใช้ทำเป็นองค์อาคารหลักในงานก่อสร้าง
Article Details
The manuscript, information, content, picture and so forth which were published on Frontiers in engineering innovation research has been a copyright of this journal only. There is not allow anyone or any organize to duplicate all content or some document for unethical publication.
References
กลุ่มพัฒนาอุตสาหกรรมไม้, ส่วนวิจัยและพัฒนาผลิตผลป่าไม้ การทำให้ไม้แห้ง. สำนักงานวิชาการป่าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2542
คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมโยธา. มาตรฐานสำหรับอาคารไม้. กรุงเทพๆ : รวมมิตรไทย,
ตระกูล อร่ามรักษ์. การออกแบบโครงสร้างไม้.กรุงเทพๆ : คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2529, หน้า 1-13 , 101-102
พิภพ สุนทรสมัย. วัสดุวิศวกรรมการก่อสร้าง.พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพๆ : บริษัทเอเชียเพรส,2534, หน้า 15-23
มนัสอนุศิริ.การออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก.พิมพ์ครั้งที่ 6. (ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ :บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น, 2534, หน้า 30-54
วีระเดช พะเยาศิริพงศ์. รวมกฎหมายฉบับปรับปรุงใหม่ กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา, มปป.
ประชุม คำพุฒ. ปฏิบัติการทดสอบวัสดุ.ปทุมธานี : แผนกเอกสารการพิมพ์ สถาบันเทคโนโลยีรชมงคลคลองหก, 2546, 105 หน้า