Feasibility study of yarn spinning from dog - hair

Main Article Content

ธีระพงษ์ ไชยเฉลิมวงศ์
วรนุช ภู่ระหงษ์
อัครวุฒิ บุญบำรุง

Abstract

ในการศึกษาความเป็นไปได้ในการนำขนสุนัขมาปั่นเป็นเส้นด้าย พบว่าสุนัขพันธุ์พูเดิ้ลมิเนียเจอร์ (Miniatur) สามารถนำมาตัดขนได้ปีละ 2-3 ครั้ง ซึ่งขนสุนัขที่ทำการตัดแล้วทางร้านจะนำไปทิ้งโดยไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์อะไร ด้วยเหตุนี้คณะผู้วิจัยจึงได้เกิดแนวความคิดที่จะศึกษาความเป็นไปได้ในการนำขนสุนัขมาปั่นเป็นเส้นด้ายเพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าขนสุนัขและนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางด้านสิ่งทอ จากการศึกษาทดลอง พบว่าสามารถนำขนสุนัขมาปั่นเป็นเส้นด้ายได้ โดยสามารถปั่นเป็นเส้นด้ายเบอร์ 3.86 Ne มีจำนวนเกลียวเฉลี่ย 10 เกลียวต่อนิ้ว ความแข็งแรงต่อแรงดึงเฉลี่ย 236 กรัม/เท็กซ์ และเปอร์เซ็นต์การยืดตัวก่อนขาดเฉลี่ย 6.78% นอกจากนั้นยังสามารถนำเส้นด้ายจากขนสุนัขไปทำเป็นผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่นๆ ได้เช่น ถุงมือ ผ้าพันคอ เป็นต้น

Article Details

How to Cite
ไชยเฉลิมวงศ์ ธ. ., ภู่ระหงษ์ ว. ., & บุญบำรุง อ. . (2006). Feasibility study of yarn spinning from dog - hair. Journal of Engineering, RMUTT, 7, 40–45. Retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/jermutt/article/view/242278
Section
Research Articles

References

1. ธีระพงษ์ ไชยเฉลิมวงศ์. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา การปั่นด้าย 1. ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 2548.
2. บัณฑิตย์ สุริยพันธ์. พูเคิล. พิมพัดรั้งที่ 3. นนทบุรี :สำนักพิมพ์บี.บี.บุ๊ค, 2547.
3.ปียนุช จริงจิตร. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาทดสอบสิ่งหอทางเคมี. ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งทอคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 2548.
4. พรรณราย รักษ์งาร. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ทดสอบสิ่งหอทางฟิสิกส์. ภาควิชาวิศวกรรม สิ่งทอ คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 2548.
5. วีระศักดิ อคมกิจเดชา. วิทยาศาสตร์เส้นใย.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุพาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.
6. เเหล่งที่มา: htp://www.dog2cat.com/index-gshop.html,
7. แหล่งที่มา: htp://www.ist.cmu.ac.th/riseat,
8. อัจฉราพร ไศละสูต. ความรู้เรื่องผ้า. พิมพัดรั้งที่ 10.กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์สร้างสรรค์-วิชาการ,2539.
9. Bruce Sogle. คู่มือดูแลสุนัข. พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์นามีบุ๊ค, 2542.
10. H.Eberle., M.Hornberger., D.Menzer., H.Hermeling.,R.Kilgus., W.Ring. Clothing Technology.German: 2002.
11. Klaus-Peter Scholz. Historical Textile Machines.no place, no time.