อิทธิพลรูปร่างตัวกวนการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวนต่อความด้านทานแรงดึงของรอยต่ออลูมิเนียม 6063-T1 และเหล็กกล้า AIS11015
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้เสนออิทธิพลของตัวกวนรูปแบบต่างๆ เช่น ตัวกวนทรงกระบอก ตัวกวนทรงกรวยและตัวกวนเกลียว ของการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวน ต่อความแข็งแรงดึงของรอยต่อชนอลูมิเนียม 6063-1 และเหล็กกล้าคาร์บอนต่ำ AIS11050 ผลการทดลองที่ได้พบว่ารอยต่อที่เชื่อมด้วยตัวกวนรูปแบบต่างๆ ให้ค่าความแข็งแรงและความสมบรูณ์ของรอยเชื่อมที่แตกต่างกันค่าความแข็งแรงสูงสุดได้จากรอยต่อที่เชื่อมด้วยตัวกวนทรงกระบอกที่ความเร็วเดินแนวเชื่อม 100มม./นาที และความเร็วรอบ 500 รอบ/นาที ที่ค่าประมาณ 165 MPa หรือร้อยละ 78 ของความแข็งแรงของอลูมิเนียมหลักผลที่เกิดขึ้นนี้ เนื่องจากตัวกวนทรงกระบอกแสดงการเพิ่มขึ้นของสีผิวเสียดทานระหว่างเหล็กและผิวตัวกวนและส่งผลโดยตรงต่อการเพิ่มผิวกระตุ้นที่เป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการสร้างการเกาะยึดระหว่างอลูมิเนียมและเหล็กนอกจากนั้นการเกิดช่องว่างจุดบกพร่องขนาดต่างๆ ที่มุมล่างของตัวกวนแอดวานซิ่งของรอยต่อ มีขนาดลดลงเมื่อความเร็วในการเดินแนวเชื่อมเพิ่มขึ้นและส่งผลทำให้ความแข็งแรงเพิ่มขึ้น
Article Details
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารแนวหน้าวิจัยนวัตกรรมทางวิศวกรรม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารฯ เท่านั้น ไม่อนุญาติให้บุคคลหรือหน่วยงานใดคัดลอกเนื้อหาทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่เพื่อกระทำการใด ๆ ที่ไม่ถูกต้องตามหลักจริยธรรม
References
W.M. Thomas, E.D. Nicholas, .C. Needham, M.G.Murch, P. Templesmith, and C.J. Dawes, Frich
Stir Welding. G.B. Patent Application. 1991No.9125978.8.
R.S. Mishra and Z.Y. Ma. Friction Stir Welding an Processing. Materials Science and Engineering p50 (2005) 1-78.
K. Kimapong and T. Wanatabe. Friction Stir Weldimg of Aluminum Alloy to Steel. Welding J. 83-10(2004277s-282s.
C.M. Chen and R. Kovacevic. "Joining of Al606 Alloys to AISI1018 Steel by Combined Effects of
Fusion and Solid State Welding.' Inter. J, of Maul Tool&Manu. 44 (200) 1205-1214.
Y.Li, LE. Mur, and J.C. McClure. Flow Visualization and Residual Microstructure associated with the Friction Stir Welding of 2024 Aluminum and 6061 Aluminum."Materials Science and Engineering A. 271 (1999)213-223.
RA. Pado, LE. Mur, D.J. Shindo and KE.Se."Tool Wear in Friction-stir Welding of Aluminum Alloy 6061+20% AI203: A Preliminary Study."Scripta Meterialia 45 (2001) 75-80.
M.Boz,and A. Kurt. "The Influence of Stirrer Geometry on Bonding and Mechanical Properties in Friction Stir Welding Process.'' Materials and Design. 25(2004) 343-347.
Y.Zhao.S, Lin, L. Wu and F. Qu. "The Influence of Pin Geometry on Bonding and Mechanical Properfe in Friction Stir Weld 2014 Al Alloy." Materials Letters 59 (200) 2948-2952.
บรรเจิด คอนเนตรงาม และสมนึก วัฒนศรียกุล"การเปรีบเทียบกระบวนการเชื่อมเสียดทานหมุนกวนอลูมิเนียมเจือ AA6063-T6 ระหว่างสลักแกนหมุนทรงกระบอกหัวตัดตรงกับหัวโค้ง ,การประชุมข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ 24-26
ตุลาคม 2550. ภูเก็ต.: แผ่นซีดีรอม
K. Kimapong and T. Wanatabe. "Lap Joint of A5083 Aluminum Alloy and SS400 Steel." Materials Trans.46-4(2005) 835-841.
K. Kimapong and T. Wanatabe. "Effect of Welding Process Parameters on Mechanical Property of FSW Lap Joint between Aluminum Alloy and Steel."Materials Trans. 46-10 (2005) 2211-2217.