การออกแบบหลักสูตรและทิศทางการเรียนการสอนด้านวิศวกรรมสำหรับปี พ.ศ. 2550-2559

Main Article Content

ณฐา คุปตันษเฐียร

Abstract

บทความนี้อภิปรายแนวทางและทิศทางการเรียนการสอนด้านวิศวกรรมสำหรับทศวรรษใหม่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550-2559 โดยแสดงคำแนะนำในการออกแบบหลักสูตรด้านวิศวกรรมให้สามารถผลิตวิศวกรรมที่สามารถทำงานในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตอบสนองความต้องมีการประเมินผลและปรับปรุงอย่างต่อเนื่องบทความนี้เสนอแนวคิดด้านการพัฒนาหลักสูตรโดยใช้เทคนิคการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality Improvement) ความต้องการของภาคอุตสาหกรรมตัวแบบการเรียนการสอนและ การประเมินผลหลักสูตร

Article Details

How to Cite
คุปตันษเฐียร ณ. . (2007). การออกแบบหลักสูตรและทิศทางการเรียนการสอนด้านวิศวกรรมสำหรับปี พ.ศ. 2550-2559. Journal of Engineering, RMUTT, 9, 26–31. Retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/jermutt/article/view/242243
Section
Research Articles

References

Badhiru, Adedeji B, "Engineering Education a Curriculum Design", "Engineering Education,”Vol.78

Cano et.al. "Student Groups Solving Real0life Projects. A Case Study of Experiential Learning,"International Journal of Engineering Education",September 2006.

Kraebber, Henry W., "Strengthening Manufacturing Education with Inputs form Industry", "Industrial Engineering", January 1993.

Leepatanapan, S, "An Industrial Needs Drive,Curriculum Design Methodology and Its Application

to Manufacturing in Thailand', "Doctoral Dissertation.University of Missouri-Rolla", 1997.

PRISM, "Real World 101: What Some Engineers in Industry Want Your Students and You, to Know,

"ASEE Prism, October 1992.