แผ่นวัสดุผสมโพลีเอทธิลีนเสริมเส้นใยเปลือกทุเรียน

Main Article Content

ประชุม คำพุฒ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติวัสดุผสามจากโพลีเอทธิลีนกับเส้นใยเปลือกทุเรียน โดยมีสวนผสมของโพลีเอทธิลีนต่อเส้นใยเปลือกทุเรียน เท่ากับ 90: 10, 80 : 20, 70 : 30, 60 : 40 และ 50 : 50 โดย น้ำหนัก ผสมเส้นใยทุเรียนด้วยเครื่องผสมแบบสองลูกกลิ้ง ทำการอัดขึ้นรูปแผ่นวัสดุผสมขนาด 30×30×0.5 ซม. โดยวิธีการอัดร้อน และทดสอบสมบัติทางกลของแผ่นวัสดุผสมตามมาตรฐาน ASTM จากผลการทดสอบ พบว่า วัสดุผสมที่มีปริมาณของโพลีเอทธิลีนที่สูงขึ้นจะมีความต้านทานการรับแรงดึง และแรงกระแทกสูงขึ้น ส่วนปริมาณเส้นใยเปลือกทุเรียนที่เพิ่มขึ้นทำให้ความต้านทานการรับแรงดึง และแรงกระแทกสูงขึ้น ส่วนปริมาณเส้นใยเปลือกทุเรียนที่เพิ่มขึ้นทำให้ความต้านทานการรับแรงดัด และความแข็งที่ผิวสูงขึ้น ผลการวิจัยมีแนวโน้มที่จะนำไปพัฒนาเป็นแผ่นวัสดุตกแต่งผนังอาคารเนื่องจากมีสีผิวและลวดลายของวัสดุผสมที่สวยงาม

Article Details

How to Cite
คำพุฒ ป. . (2008). แผ่นวัสดุผสมโพลีเอทธิลีนเสริมเส้นใยเปลือกทุเรียน. แนวหน้าวิจัยนวัตกรรมทางวิศวกรรม, 11, 52–59. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/jermutt/article/view/242218
บท
บทความวิจัย

References

ฐานกวามรู้เรื่องพืช กรมวิชาการเกษตร, 2549.ทุเรียน. [online] เข้าถึงได้จาก http://www.doa.go.th/pl_data/DURIAN/1STAT/st01.html. 2549

Karen, X. and Costas, T. 2002. Rheological properties and their influence on extrusion

characteristics of HDPE-wood composite resins. 60t annual technical conference ANTEC, 1, pp. 252-256.

Magnus, B, and Kristiina, O. 2005, Use of Silane Technology in Crosslinking of Pol yethylene-Wood Flour Composites. 8" International Conference on Wood fiber-Plastic Composites (and other natural

fibers), Madison, Wisconsin, USA.

สมควร วัฒนกิไพบูลย์และตตกร ทรงต่อศรีสกุล.2548. การผลิตวัสดุหดเทนแผ่นชิ้นไม้อัดจากเศยวัสดุเหลือใช้. Engineering Today.34: หน้า 132-138.

ศราวุธ ริมดุสิต. 2548 ผงขี้เลื่อยผสมพลาสติก.Engineering Today. 32: หน้า 95-96.

พรพิมลอมรโชติ,วรธรรมอุ่นจิตติชัย, จรัส ช่วยนะ.2545. การศึกษาศักยภาพการใช้ประโยชน์ของเศยไม้ยางพาราเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรม.การประชุมการปไม้ประจำปี 2545 (ด้านวัสดุทดแทนไม้), กรมป่าไม้. กรุงเทพฯ:หน้า 121-32..iamen

ธนดล สัตตบงกช. 2545. ไม้ประกอบและไม้ประกอบพลาสติก. การประชุมการป่าไม้ประจำปี 2545 (ด้านวัสดุทดแทนไม้),กรมป่าไม้. กรุงเทพฯ: หนำ 247.

อุทิศตรีศักดิ์. 245. เผ่นชิ้นไม้อัดจากชานอ้อย.การประชุมการป่าไม้ประจำปี 2545 (ด้านวัสดุทดแทนไม้), กรมป้าไม้. กรุงเทพฯ:หน้า 267.

จรัสช่วยนะ,วรรรรม อุ่นจิตติชัย,พรพิมลอมรโชติ.2545. การผลิตเผ่นปาร์ติเกิลบอร์ดจากเศษไม้ไผ่ค้ำยันเหลือทิ้ง, การประชุมการป้าไม้ประจำปี 2545 (ด้านวัสดุทดแทนไม้),กรมป้าไม้. กรุงเทพฯ: หนำ 113-120.

พิชญ์ ศุกผล, กัตรชับ วีระนิติสกุล. 2546.ไม้แปรรูปพลาสติก. MECHANICAL TECHNOLOGY. 27: หน้า 99-102.

อิทธิพล แข็งชัด, วรรณิขา ชาญณรงค์ และ วรธรรม อุ่นจิตติชับ. 2545. ผลของปริมาณไม้และพลาสติไซเซอร์ที่มีต่อสมบัติเชิงกลของคอมโพสิตจากเส้นใยไม้ยางพาราและพี่วีซี. การประชุมการป่าไม้ประจำปี2545 (ด้านวัสดุทดแทนไม้), กรมป่าไม้.กรุงเทพฯ: หนำ 100.

อิทธิพล แจ้งชัด, ธีรพัฒน์ อุณหโชค, พจนี่ย์ศรธรรมลี และวรรรรม อุ่นจิตติชัย. 2545.การศึกษาไม้เทียมพอลิเมอร์คอมโพสิตจากเส้นใยผักตบชวาและพอลิเอทิลีนความหนาแน่นต่ำที่ใช้พอลิเอทิลีน-กราฟท์-มาลีอิกเอนไฮดรายด์เป็นสารช่วยผสม. การประชุมการปไม้ประจำปี 2545 (ด้านวัสดุทดแทนไม้), กรมป่าไม้. กรุงเทพๆ: หน้ 180.

สมควร วัฒนกิไพบูลย์ และตตกร ทรงต่อศรีสกุล.2548. การศึกษาการนำเส้นใยกาบมะพร้าวมาใช้เป็นวัสดุเสริมเรง. Engineering Today.34: หนำ 128-131.

อโณทัยผลสุวรรณ,ประชุมดำพุฒ เละบุญชัยผึ้งไผ่งาม. 2548. การสึกษาสมบัติของโพลเอกริลีนความหนาแน่นสูงที่ผ่านการใช้งานแล้วกับขี้เลื่อยไม้ยางพารา, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติดรั้งที่ 10,โรงเเรมเอมบาสเดอร์หิตี้จอมเทียน พัทยาชลบุรี,เล่มที่ 2: หน้า MAT-39 - MAT-43.

ประชุม คำพุด. 25ร0. สมบัติเชิงกลของวัสดุผสมโพลิอทธิลิน ความหนาเน่นสูงที่ผ่านการใช้งานแล้วกับผงขี้เลื่อขไม้ขางพารา.เอกสารประกอบการประชุมวิชาการสิ่งแวดถ้อมแห่งชาติครั้งที่ 6, พิษณุโลก,7-9 มีนาตม 2550: 07R3-10.

ประชุม กำพุฒ และอกรัตน์ รวยรวย. 2550,แผ่นวัสดุผสมโพลีเอทริลีนเสริมเส้นใยมะพร้าว. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติดรั้งที่ 12, พิษณุโลก, 2-4 พฤษภาคม 2550.

Khamput, P. 2007. A Study of Properties of Composite Boards Made from Coir Fiber and Polyethylene. The 2"d International Conference on Advances in Petrochemicals and Polymers (ICAPP 2007), Bangkok,Thailand, June 25-28, 2007.

Khamput, P., Wanthong, P. and Boksuwan,A. 2007. Properties of Composite Material from High Density Polyethylene and Coconut Coir Powder. The 33" Congress on Science and Technology of Thailand,Nakhon Si Thammarat, Thailand, October18-20, 2007.

Standard test method for sieve analysis of fine and coarse aggregates ASTM C136-96a. 2001. Annual Book of ASTM Standards. Vol. 04.02, Philadelphia.

Standard test method for tensile properties of plastic ASTM D638. 1990. Annual Book of ASTM Standards. Vol. 08, Philadelphia.

Standard test method for impact resistance of plastics and electrical insulating materials ASTM D256. 1990. Annual Book of ASTM Standards. Vol. 08, Philadelphia.

Standard test method for flexural properties of reinforced and unreinforced plastics and electrical insulating materials ASTM D790. 1990. Annual Book of ASTM Standards. Vol. 08, Philadelphia.

Standard test method ASTM D785-98. 1990.Annual Book of ASTM Standards. Vol. O8,Philadelphia.

จินตมัย สุวรรณประที่ป. 2547. การทดสอบสมบัติทางกลของพลาสติก, สำนักพิมพ์ส.ส.ท., กรุงเทพฯ, 269 หน้า.