A study of factors that affect image quality a case study : a final inspection of inkjet printer production
Main Article Content
Abstract
ในการผลิตเครื่องพิมพ์จำนวน 2,685,662 เครื่อง จากโรงงานที่ใช้เป็นกรณีศึกษา พบว่ามีอัตราจำนวนเครื่องไม่ผ่านคุณภาพภาพพิมพ์ จำนวน 2,723 เครื่อง โดยคิดเป็นร้อยละ 0.10 เฉลี่ย454 เครื่องต่อเดือน ของการผลิตทั้งหมดและทำให้โรงงานต้องมีค่าใช้จ่ายในการ Rework เกิดขึ้น 45,578 บาท เฉลี่ย 7,596 บาท ต่อเดือน เพื่อทำให้เครื่องพิมพ์กลับมามีคุณภาพตรงตามมาตรฐานของโรงงานและนำไปสู่การกำหนดสมมติฐานการวิจัย การศึกษานี้จะทำให้สมารถทราบปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพของภาพพิมพ์และสามารถลดสัดส่วนของปัญหาในการพิมพ์ภาพลงได้ร้อยละ 50 ดังนั้น งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุและศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพของภาพพิมพ์ในการทดสอบขั้นสุดท้ายของการผลิตเครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ท โดยมีระเบียบวิธีวิจัยคือ การศึกษาขั้นตอนการทดสอบการพิมพ์ภาพซึ่งเป็นการทดสอบขั้นสุดท้ายก่อนการบรรจุผลิตภัณฑ์ก่อนส่งมอบให้กับลูกค้า จากการนำทฤษฎีและหลักการทางวิศวกรรมอุตสาหการมาประยุกต์ใช้ได้แก่ทฤษฎีการควบคุมคุณภาพ (Quality control) เครื่องมือควบคุมคุณภาพทั้ง (7 QC Tools) เครื่องมือควบคุมคุณภาพยุคใหม่ ( New QC Tools) ทฤษฎีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (Productiveity Improvement) และทฤษฎีการออกแบบการทดลอง (Design of Experiment)
Article Details
The manuscript, information, content, picture and so forth which were published on Frontiers in engineering innovation research has been a copyright of this journal only. There is not allow anyone or any organize to duplicate all content or some document for unethical publication.
References
[2] เอกรัตน์ สารุธรรม.ค่ายพรินตอร์ปรับตัวครั้งใหญ่รับยอดโตน้อยอัดแคมเปญผ่อน-ฟรี.กรุงเทพธุรกิจ. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จากhttp://Bangkokbiz news.com หน้าไอทีนวัตกรรม (26มีนาคม 2552).
[3]นางสาวนพเก้า ศิริพลไพบูลขและคณะ, 2548.หลักการเพิ่มผลผลิต ( Basic Productivity Improvement). สถาบันเพิ่มผลผลิตเเห่งชาติ.สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ประชาชน. พิมพ์ครั้งที่5. จำนวนหน 244 หน้า.
[4] จักรกฤษณ์ ภูพานเพชร, 2552. การลดข้อร้องเรียนจากลกกและค่าใช้จ่ายคุณภาพด้วยเครื่องมือควบคุมคุณภาพยุคใหม. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ. มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี.
[5] โสภิดา ท้วมมี, 2550. การลดปริมาณของเสียในกระบวนการผลิตพลาสติกแผ่น โดยการประยุกต์ใช้การออกแบบการทดลองกรณีศึกษาบริษัทในอุตสาหกรรมผลิตพลาสติก.วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิตภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำพระนครเหนือ.
[6] ปารเมศ ชุติมา. 254ร. การออกแบบการทดถองทางวิศวกรรม. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร.
[7] Montgomery, D.C. 2005. Design and Analysis of Experiments. John Wiley & Sons,INC.,
The United States of America.
[8] ศรีไร จารภิญโญ , 2ร52. เอกสารประกอบการสอนการออกแบบการทดลอง, ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ.คณะวิศวกรรมศาสตร์.มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี.
[9] วิทยา รุ่งเจริญวัฒนา , 2550.การใช้การออกแบบการทดลองในการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดของเสียในขบวนการผลิตชิ้นส่วน CMC P-CAR. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิตภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรม.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
[10] พรชัย ศศิวรรณ , 2550.การลดปริมาณของเสียในกระบวนการผลิตชิ้นส่วนกันโคลนรถยนต์ .วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิตภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำพระนครเหนือ.
[11] จิรัญญา โชตยะกุล, 2545.การลดต้นทุนการเคลือบผิวกระดายด้วยการกำหนดเงื่อนไขที่เหมาะสม. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต ภากวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.