การพัฒนาระบบควบคุมเครื่องพิมพ์ร้อน

Main Article Content

ธนะพงศ์ นพวงศ์ ณ อยุธยา

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอการพัฒนาระบบควบคุมเครื่องพิมพ์ร้อน โดยปรับเปลี่ยนในส่วนของการปรับตั้งค่าพารามิเตอร์ ให้เป็นระบบดิจิตอล โดยแสดงค่าปรับตั้งและอุณหภูมิขณะใช้งานเป็นตัวเลขแสดงผลบนจอ LCD ในการควบคุมหัวพิมพ์ตัวอักษรขนาด 2 มิลลิเมตร จะใช้แรงลมอัดขนาด 3-4 บาร์ ณ อุณหภูมิใช้งานอยู่ในช่วง 100-150 จากการทดลองใช้งานเครื่องพิมพ์ร้อน เครื่องสามารถพิมพ์ชิ้นงานได้ในอัตรา 12 ชิ้นต่อนาที และสามารถพิมพ์ต่อเนื่องได้สูงสุด 99 ชิ้น ในเรื่องของคุณภาพการพิมพ์พบว่าหมึกพิมพ์จะติดชิ้นงานที่เป็นสติกเกอร์ใส และสติกเกอร์ไวนิวส์ ได้ดีกว่ากระดาษ A4

Article Details

How to Cite
นพวงศ์ ณ อยุธยา ธ. . (2008). การพัฒนาระบบควบคุมเครื่องพิมพ์ร้อน. แนวหน้าวิจัยนวัตกรรมทางวิศวกรรม, 12, 1–8. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/jermutt/article/view/242198
บท
บทความวิจัย

References

[1] Grob, Bernard and Schultz, Mitchel E. Basic Electronics 9"ed. Singapore: Mc Graw Hill,Inc.,2003.
[2] ดอนสัน ปงผาบและทิพวัลย์ คำน้ำนอง,2551. ไมโครคอนโทรลเลอร์ PIC และการประยุกต์ใช้งาน.พิมพัดรั้งที่ 2.กรุงเทพฯ :สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น).
[3] ประจิน พลังสันติกุล. เรียนรู้และใช้งานCCSCคอมไพเลอร์.กรุงเทพฯ : อินโนเวทีฟเอ็กเพอริเมนต์.
[4] ณรงค์ ตันชีวะวงศ์,2547.นิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ เบื้องต้นพิมพ์ครั้งที่8 กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).