ผลกระทบของความละเอียดของผงหินปูนต่อกำลังอัดประลัย กำลังดึงแบบผ่าซีก และโมดูลัสยืดหยุ่นของคอนกรีตผสมเถ้าลอยและผงหินปูน

Main Article Content

สุรสิทธิ์ เพาะบุญ
ปิติศานต์ กร้ำมาตร

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอผลการศึกษาของผลกระทบของความละเอียดของผงหินปูนต่อคุณสมบัติทางกลของคอนกรีตผสมเถ้าลอยและผงหินปูน โดยทำการศึกษาผงหินปูนที่มีความละเอียด (d50) เท่กับ 2, 8 และ 15 ไมครอน ()แทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ดแลนด์ประเภท 1 ในอัตราส่วนร้อยละ 0, 5, 10 และ 20 ร่วมกับเถ้าลอยที่อัตราส่วนร้อย 30,25,20 และ 10โดยน้ำหนัก ทำการศึกษาคุณสมบัติพื้นฐานของปูนชีเมนต์ เถ้าลอย และผงหินปูนวัสดุได้แก่ องค์ประกอบทางเคมีคุณสมบัติทางกายภาพประกอบด้วย ความถ่วงจำเพาะและความละเอียดโดยวิชีเบลน และคุณสมบัติทางกล ได้แก่ กำลังอัดประลัย กำลังดึงแบบฝ่าซีก และโมคูลัสยืดหยุ่น จากผลการสอบพบว่า กำลังอัดประลัยที่อายุช่วงต้นของคอนกรีตผสมผงหินปูนมีแนวโน้มมากคว่ำอนกรีดปกติ ในขณะที่คอนกรีตผสมผงหินปูนและเถ้าลอยมีค่ากำลังอัดประลัยที่ระยะยาวมีแนวโน้มสูงกว่าคอนกรีตปกติ ส่วนกำลังดึงแบบผ่าซีกและโมดูลัสยืดหยุ่นของคอนกรีตผสมเถ้าลอยและผงหินปูนมีแนวโน้มเช่นเดียวกับกำลังอัดประลัย นอกจากนั้นความละเอียดของผงหินปูนมีผลกระทบโดยตรงต่อคุณสมบัติทงกล โดยผงหินปูนที่มีความละเอียดสูงกว่ามีผลทำให้คุณสมบัติทางกลสูงกว่าคอนกรีตที่ผสมผงหินปูนที่มีความละเอียดต่ำกว่า

Article Details

How to Cite
เพาะบุญ ส., & กร้ำมาตร ป. . (2013). ผลกระทบของความละเอียดของผงหินปูนต่อกำลังอัดประลัย กำลังดึงแบบผ่าซีก และโมดูลัสยืดหยุ่นของคอนกรีตผสมเถ้าลอยและผงหินปูน. แนวหน้าวิจัยนวัตกรรมทางวิศวกรรม, 1, 81–93. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/jermutt/article/view/242094
บท
บทความวิจัย

References

ชัย จตุรพิทักษ์กุล และ วีรชาติ ตั้งจิรภัทร, 2552.ปูนซีมนต์ ปอซโซถาน และคอนกรีต, พิมพ์ครั้งที่ 2, ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

คณะอนุกรรมการคอนกรีตและวัสดุ ภายใต้คณะกรรมการวิชาการสาขาวิศวกรรมโยธาวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์, 2543. ความคงทนของคอนกรีต,พิมพ์ครั้งที่ 1

ปีติศานต์ กร้ำมาตร และสมนึก ตั้งเติมสิริกุล, 2550.การต้านทานซัลเฟตของตัวอย่างมอร์ต้าร์ฝุ่นหินปูน,การประชุมวิชาการคอนกรีตประจำปี ครั้งที่ 3,24-26 ตุลาคม 2550, ชลบุรี.

N. Voglisa, G. Kakalia, E. Chaniotakisb, S.Tsivilisa, 2005. Portland-limestone cement. Their properties and hydration compared to those of other composite cements, Cement & Concrete Composites, Vol. 27, pp. 191-196.

จตุพร ชูตาภา และ วรพจน์ แสงราม, 2552.แคลเซี่ยมคาร์บอเนต (Calcium Carbonate:CaCo3 ), วิหารแดง, ปีที่ 1, ฉบับที่ 6 มิถุนายน.

Neville, A.M., 1981. Properties of Concrete.Pittmen Book Limited, London.

D. P. Bentz, Taijiro Sato, Igor de la Varga,W. Jason Weiss, 2012. Fine limestone additions to regulate setting in high volume fly ash mixtures, Cement & Concrete Composites, Vol. 34, Pp.11-17.

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม, 2547. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 15 เล่ม 1.

American Society for Testing and Materials.2012. ASTM C39 / C39M - 12a Standard Test Method for Compressive Strength of Cylindrical Concrete Specimens, Annual book of ASTM standards vol.04.02,Philadelphia, USA: American Society forTesting and Materials.

American Society for Testing and Materials,2011. ASTM C496 / C496M - 11 Standard Test Method for Splitting Tensile Strength of Cylindrical Concrete Specimens, Annual book of ASTM standards vol.04.02, Philadelphia, USA:American Society for Testing and Materials.

American Society for Testing and Materials,2010. ASTM C469 / C469M - 10 Standard Test Method for Static Modulus of Elasticity and Poisson's Ratio of Concrete in Compression, Annual book of ASTM standards vol.04.02, Philadelphia, USA: American Society for Testing and Materials.