การประยุกต์ใช้เทคนิค Fault Tree Analysis (FTA) กรณีศึกษากระบวนการปั๊มโลหะ
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิเคราะห์หาสาเหตุโดยประยุกต์ใช้เทคนิค Fault Tree Analysis (FTA) ผลจากการประเมินคะแนนระดับความเสี่ยงพบว่า อุบัติเหตุประเภทแม่พิมพ์ทับเท้า มีระดับความเสี่ยงสูงที่ระดับ 3 ซึ่งมีค่าของคะแนนเท่ากับ 9 เป็นระดับคะแนนและความเสี่ยงสูงสุด ต้องมีการดำเนินการเพื่อลดความเสี่ยง โดยนำทฤษฎี 3E มาประยุกต์ใช้ให้เป็นแนวทางการลดอุบัติเหตุการป้องกันอุบัติเหตุ โดยให้ความรู้ความเข้าใจการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุ และการทำงานแก่พนักงานในส่วนงานปั๊มโลหะจากผลการศึกษาพบว่าโอกาสของการเกิดความผิดพลาดที่แม่พิมพ์ทับเท้าพนักงานขณะยกเพื่อติดตั้งก่อนเริ่มใช้มาตรการป้องกันอุบัติเหตุเท่ากับ 0.46 และหลังเริ่มใช้มาตรการป้องกันอุบัติเหตุโอกาสของการเกิดความผิดพลาดที่แม่พิมพ์ทับเท้าพนักงานเท่ากับ 0.13 สรุปได้ว่าหลังจากมีการใช้มาตรการป้องกันอุบัติเหตุโดยใช้หลัก 3E ทำให้โอกาสการเกิดความผิดพลาดลดลงร้อยละ 72.14
Article Details
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารแนวหน้าวิจัยนวัตกรรมทางวิศวกรรม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารฯ เท่านั้น ไม่อนุญาติให้บุคคลหรือหน่วยงานใดคัดลอกเนื้อหาทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่เพื่อกระทำการใด ๆ ที่ไม่ถูกต้องตามหลักจริยธรรม
References
วิฑูรย์ สิมะโชคดี และวีรพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์, 2543.วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัยในโรงงาน. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น) กรุงเทพฯ
ผะกาวัลย์ บุญโสธรสถิตย์, 2534.การสูญเสียผลิตภาพเนื่องจากอุบัติเหตุจากการทำงานในภาคอุตสาหกรรม : ศึกษาเฉพาะในเขตสมุทรปราการ.กรุงเทพฯ :วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรพินท์ พิเนตรพงษ์, 2535. ความเสี่ยงภัยจากการทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิต : อันตราย
ที่ต้องตระหนัก บัณทิตวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยเกยุตรศาสตร์.
อโณทัย ภูวนวิทยาคม, 2538. ค่าใช้จ่ายและการจัดการด้านความปลอดภัยในฐานะตัวทำนายความ
สูญเสียจากการเกิดอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมเขตภาคเหนือตอนบน.เฉียงใหม่:วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อนุชา วงศไพบูลย์ 2539. ผลของระบบการบริหารงานความปลอดภัยสมัยใหม่ที่มีต่ออัตราการเกิด
อุบัติหตุกรณีศึกษาการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย.กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้พระนครเหนือ.
พรทพ จุทาโรจน์, 2541. การสูญเสียผลิตภาพอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุจากการทำงานในนิคอุตสาหกรรม
ภาคเหนือ. เชียงใหม่ : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Koomsup, Praipol, 1993. Economic Development and Environment in Asean Countries. Bangkok:Thammasat University Printing House.
Aslaug Mikkelsen, 2004, "Working time Arrange ments and safety for offshoreworkersin the North Sea", Safety Science42, pp. 167-184.
จำเนียร มูลเทพและคณะ,2546."ปัจจัยที่มีความลัมพันธ์กับการสูญเลียอวัยวะของลูกจ้างที่ประลบอันตรายจากการทำงาน", วารสารวิจัยปีที่ 8, ฉบับที่ 1,ม.ค-มิ.ย, หน้า 90 -100.
นลินี ประทับศร, 2543 กวามรู้ทัศนคติกี่ยวกับความปลอดภัยในกาทำงานและพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของหัวหน้างานระดับต้นในโรงงานอุตสาหกรรมประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาจิตวิทยา อุตสาหกรรม ภากวิชาจิตวิทยาบัณฑิต วิทยาลัยหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศิราณี ศรีวรรณวิทย์, 2544. การรับรู้มาตรการความปลอดภัยของพนักงานในโรงงานปิโตรเคมี : กรณีี
ตึกษาโรงงานปีโตรเคมีแห่งชาติ, สาระนิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิทยาการจัดการอุตสาหกรรมบัณฑิต วิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
สุริดา บัวทอง, 2547 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ระบบความปลอดภัยของพนักงานระดับปฏิบัติ
การในโรงงานอุตสาหกรรมเคมีภัณที่ในขตนิคมอุตสาหกรรมบางปู. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาการจัดการอุตสาหกรรมบัณฑิตวิทยลัย,สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารถาดกระบัง.
ไพรศาล วีรกิ, 2540. ความปลอดภัยของคนงานพโรงานบำบัดน้ำเสียในรัฐแคลิฟอร์เนียวิศวกรรมสารมหาวิทยาลัยรังสิต, ปีที่ 1, ฉบับที่ 1, หน้า 34-39
สุกัญญา ปริตรมงคล 2545. การศึกษาการรับรู้ระบบความปลอดภัยของพนักงานฝ่ายผลิตบริษัทไทย
ฮอนด้าแมนูแฟคเจอริ่งจำกัด, สาระนิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร มหาบัณฑิตสาขาวิทยาการจัดการอุตสาหกรรม บัณฑิต วิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีพระอมกล้ำเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
นถุมล กตุหิม, 2542. ปัจจัยและผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับการเกิดอุบัติหตุจากการทำงานวิทยานิพนธ์ครุตาสตร์อุตสาหกรรมหาบัณฑิตสาขาวิชาธุรกิจอุตสาหกรรมภาควิชาบริหาร เทคนิคศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ปีติพร หาสวนขวัญ, 2544 การศึกษาองค์ประกอบและแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยของผู้รับเหมาก่อสร้างไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระอมเกล้าธนบุรี.
ชวลิต มีสวัสดิ์ 2546. ปัจจัยที่ใช้เพิ่มความปลอดภัยในงานก่อสรงอคารขนาดใหญ่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑถ. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิตสาขาวิชาโยธาภาควิชาครุศาสตร์โยธาบัณฑิตวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำพระนครเหนือ.
ขุมพล จันทรสม, 248, การจัดการความปลอดภัยในงานก่อสร้าง,การประชุมวิชากาวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ,ครั้งที่ 1, ชลบุรี(2-4พ.ค 49) 193
บุญชู ชาวเชียงขวางและคณะ, 2543. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมความปลอดภัยในกาทำงานของผู้ใช้
แรงงานก่อสร้างในบริษัทรับเหมาบาง แห่งในลังหวัดสุพรรณบุรี,งานอาชีวเวชกรรมกลุ่มงานเวชกรรมสังคมโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราชกองโรงพยาบาลภูมิภาคสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขกระทรวงสาธารณสุข.
พจนารถ บุญญภัทรพงย, 2542. ความรู้และทัศนคติต่อพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการทำงาน
ของถูกจ้างในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตลวดในจังหวัดประทุมธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาอุตสาหกรรมภาควิชาจิตวิทยาบัณฑิต วิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วีรมลล์ ละอองศิริวงศ์ 2541. ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้สภาพการทำงานเป็นอันตรายและพฤติกรรมการทำงานอย่างปลอดภัยของพนักงานปฏิบัติการในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตแผ่นเหล็ก.วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมภาควิชาจิตวิทยาบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ชัยธวัช ทองอินทร์, 2542. ความรู้ในเรื่องความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็คทรอนิคส์: กรณีศึกษา บริษัท รานินทร์เอลน่า จำกัดจังหวัดเชียงใหม. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตสาขาวิชาบริหารธุรกิจบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อภิชิต หวังก่อศรีสุข, 2544. บาทบาทการดำเนินกิจกรรมความปลอดภัยในการทำงานของจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับวิชาชีพในโรงงานอุตสาหกรรม,วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการแรงงานและสวัสดิการสังคมบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริก.
สิริวิมล ชื่นบาล, 25ร1, การวิเคราะห์ความเสี่ยงการเกิดฝุ่นระเบิดในกระบวนการจัดเก็บและลำเถียงแป้งมันลำปะหลังด้วยวิธี Fault Tree Analysis.วิทยานิพนธ์ปริญญาโทมหาวิทยลัยเกษตรศาสตร์.
วิชัย พฤกษ์ราราธิกูล, 25ร0. การประเมินความเสี่ยงในสถานประกอบการ. กรุงเทพ : คณะสาธารณสุข
ศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล.
กรมโรงงานอุตสาหกรรม. สถิติการเกิดอุบัติเหตุ.[ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http:/www2.diw.go.th/Safety/index5.htm 1 สิงหาคม 2554.
สิริวิมล ชื่นบาล, นันทิยา หาญศุกลักษณ์, 2555. "การชี้บ่งอันตรายด้วยวิธี Fault Tree Analysis เเละการประเมินความเสี่ยงภายในท่ออบแป้งในกระบวนการผลิตเป้งมันสำปะหลัง", วิศวกรรมสาร มก.25, 80 (มษายน-มิถุนายน).