การพัฒนาระบบจัดการข้อมูลสัตว์เลี้ยง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การดูแลสุขภาพสัตว์เลี้ยงให้ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด เช่น การฉีดวัคซีน การตรวจสุขภาพประจำปี การรักษาความสะอาด และการรักษาอาการป่วย ช่วยทำให้สัตว์เลี้ยงมีสุขภาพที่ดี มีอายุยืนยาว ในบางครั้งเจ้าของสัตว์เลี้ยงลืมวันเวลาในการดูแลสุขภาพสัตว์เลี้ยงเป็นสาเหตุทำให้สัตว์เลี้ยงเจ็บป่วย และเสียชีวิตได้ งานวิจัยนี้จึงได้ออกแบบและพัฒนาระบบเพื่อช่วยให้เจ้าของสัตว์เลี้ยงบันทึกข้อมูลกิจกรรมสัตว์เลี้ยงของตนในรูปแบบออนไลน์ โดยสามารถทำงานได้บนสมาร์ตโฟน และคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ระบบสามารถจัดการข้อมูล ปฏิทินการฉีดวัคชีน บันทึกกิจกรรมของสัตว์เลี้ยง อาการป่วย สถานบริการสัตว์เลี้ยงรวมทั้งภาพประทับใจเกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงได้ ระบบสามารถแจ้งเตือนผ่านทางอีเมล์ ซึ่งช่วยให้ตรวจสอบกิจกรรมที่จะจัดให้แก่สัตว์เลี้ยงต่อไปในอนาคต เมื่อทดลองใช้งานระบบกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเจ้าของสัตว์เลื้ยง 80 คน พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อระบบที่พัฒนาขึ้นในระดับพอใจ โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.65 มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.96
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผู้แต่งจะต้องกรอกข้อมูลเพื่อโอนลิขสิทธิ์ (copyright) ให้กับวารสารวิทยาการสารสนเทศและเทคโนโลยีประยุกต์ ก่อนเผยแพร่บทความ โดยดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/jait/copyrightlicense
References
ณัฐวดี หงษ์บุญมี และคณะ. (2557). การพัฒนาโปรแกรมดูแลสุขภาพสุนัขบนโทรศัพท์มือถือ. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 10 (NCCIT2014).
ธีรพงศ์ ยืนยงโอฬาร. (2554). ระบาดวิทยาโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์ของประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2549-2554. สำนักควบคุมป้องกันและบำบัดโรค สัตว์. กรมปศุสัตว์.
เพลิน ยงยุทธวิชัย และคณะ. (2554). การเฝ้าระวังและสํารวจโรคไข้หวัดนกแบบก่อโรครุนแรง สายพันธุ์ย่อย H5N1 ในนกเลี้ยงและนกธรรมชาติ ณ สวนสัตว์ จ.สุพรรณบุรี ระหว่างปี พ.ศ. 2552-2553. Journal of Applied Animal Science Vol. 4 No. 3.
วรางคนา คำประสิทธิ์ และธีรวัฒน์ จันทึก. (2560). การศึกษาพฤติกรรมการเลี้ยงสัตว์เลี้ยงของผู้สูงอายุประเภทสุนัขและแมวในอําเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง. การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 9 “ราชมงคลสร้างสรรค์ นวัตกรรมที่ยั่งยืนสู่ประเทศไทย 4.0” (Creative RMUT and Sustainable Innovation for Thailand 4.0).
อนัญญา พรมโคตร, ณภัทรวรัญญ์ ศรีฮาตร และอุดม วงค์สุภา. (2558). การพัฒนาระบบการจัดการคลินิกโรงพยาบาลสัตว์เล็ก. SNRU Journal of Science and Technology Vol. 7 No 2.
อมิตตา คล้ายทอง และ สมพงษ์ จิรสวัสดิ์. (2555). ระบบฐานข้อมูลคลินิกรักษาสัตว์ กรณีศึกษา : คลินิกรักษาสัตว์ดงขุย อ.ชนแดน จ.เพชรบูรณ์. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 50.
Kiwi Objects. (2560). iPetCare : Care for Dogs & Cats. [online]. available https://itunes.apple.com/th/app/ipetcare-care-for-dogs-cats/id392219326?mt=8. [Retrieved : 20 March, 2017].
Quach. M. (2560). Pet Care Services Finder. [online]. available https://itunes.apple.com/us/app/pet-care-services- finder/id327045886?mt=8. [Retrieved : 20 March, 2017].
Puanghat A. and Hunsoonwan W. (2005). Rabies Situation in Thailand. J Med Assoc Thai Vol. 88 No. 10.
Purina. (2560). Purina Pet Health. [online]. available https://www.purina.com. [Retrieved : 20 March, 2017].
Thaiware.com. (2560). Animal Record. [online]. available https://software.thaiware.com/11278-Animal-Record-Download.html. [Retrieved : 20 March, 2017].