โครงการต้นแบบระบบสารสนเทศ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ของตำบลนิลเพชร (The Model of an IT System for building value of local products by e-commerce approach : Case Study of Ninlapet District)

Main Article Content

Authors :จีรวรรณ นกเอี้ยงทอง (Jeerawan Nokeangthong)
กสมล ชนะสุข (Kasamol Chanasuk)
สมใจ เภาด้วง (Somjai Phaoduang)
สุทิศา ไพบูลย์วัฒนกิจ (Sutisa Paiboonwattanakid)
นพดล มณีรัตน์ (Noppadol Maneerat)
เสาวนีย์ มะหะพรหม (Saowanee Masaprom)

Abstract

         งานวิจัยดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ สองประการคือ 1. เพื่อสร้างระบบสารสนเทศ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ของตำบลนิลเพชร 2. เพื่อประเมินผลการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ของตำบลนิลเพชร ประชากรที่ประเมินได้แก่ กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน ในตำบลนิลเพชร จำนวน 33 ราย ที่ใช้คู่มือการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของตำบลนิลเพชร ในจังหวัดนครปฐม


ผลการศึกษาพบว่า


  1. ระบบสารสนเทศ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ของตำบลนิลเพชร มีขั้นตอนตั้งแต่ การลงพื้นที่สำรวจ โดยการสัมภาษณ์ความต้องการรูปแบบระบบสารสนเทศเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของตำบลนิลเพชร ในจังหวัดนครปฐม การ ประชุมกลุ่มย่อย เพื่อสรุประบบสารสนเทศเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของตำบลนิลเพชร ในจังหวัดนครปฐม การ พัฒนาคู่มือการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของตำบลนิลเพชร ในจังหวัดนครปฐม และการจัดอบรมการใช้ระบบสารสนเทศแก่กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนผู้ให้สามารถใช้งานได้ด้วยตนเองได้

  1. ผลการประเมินความพึงพอใจคู่มือการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของตำบลนิลเพชร ในจังหวัดนครปฐม มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก (Mean = 4.02) โดยด้านที่ได้รับการประเมินสูงที่สุดได้แก่ การประเมินผลด้านรูปแบบการนำเสนอ การประเมินผลด้านประโยชน์ที่ได้รับ และ การประเมินผลด้านการทำงานของระบบสารสนเทศ ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าไม่มีความแตกต่างกัน

         This research has two purposes: 1. To create a prototype system for creating value added for community products of people in Ninlapet Sub-district. Nakhon Pathom. 2. To evaluate the value creation of community products in the area of ​​Nilpuk Sub-district. Nakhon Pathom through e-commerce trading system. The population of 33 persons for the evaluation were selected from the members of the Community Product Group in Nilpet Sub-district, Nakhon Pathom Province, who use the system to create value added products.


The study indicated that


  1. The prototype system for creating value added for community products of people in Ninlapet Sub-district, Nakhon Pathom Province through the e-commerce trading system consists of the following stages. Surveying the target population through interviews to find the needs of the system in order to increase the value of community products, group meetings to summarize the underlying information system, developing the Information System Manual, and trainings for the use of the information system to community members to be able to use the system effectively.

  2. Results of the satisfaction evaluation for using the information system showed that the satisfaction is at the “High” level (score of 4.02). The most highly evaluated were Presentation style, the benefits gained, and the operation of the information system respectively. When compared to personal factors, the results showed no difference in statistical significant.

Article Details

Section
บทความ : Science and Technology