การปรับปรุงงานมาตรฐานด้วยการวิเคราะห์การเคลื่อนไหวการทำงานด้วย Time Prism Software(กรณีศึกษาอุตสาหกรรมสิ่งทอ)

Main Article Content

Vithinut Phakphonhamin

บทคัดย่อ

        งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการลดรอบเวลาการทำงานด้วยการปรับปรุงงานมาตรฐานโดยเทคนิคการวิเคราะห์ด้วยVideoและการศึกษาการเคลื่อนไหวในการทำงานโดยใช้โปรแกรมTime Prism Software  Ver. 1.9.0 การทำวิจัยปรับปรุงงานใช้กรณีศึกษาจากอุตสาหกรรมสิ่งทอของกระบวนการผลิตแผนกเย็บเสื้อแจ๊คเก็ตสภาพปัจจุบันพบว่าผลผลิตไม่ได้ตามเป้าหมายที่กำหนดคือ 144 ตัวต่อวันจากที่กำหนด 190 ตัวต่อวันและได้ดำเนินการบันทึกภาพVDO ในกลุ่มงานขั้นตอนที่ 9 เพื่อศึกษารอบเวลาการทำงานเท่ากับ 4.50 นาทีต่อชิ้นและเมื่อเทียบกับ Takt time เท่ากับ 3.42 นาทีต่อชิ้นแสดงถึงรอบเวลาการทำงานนั้นสูงเกินค่าเป้าหมายและได้ดำเนินการวิเคราะห์การปรับปรุงการทำงานด้วย ECRS ในการจัด Layout และจัดลำดับขั้นตอนใหม่เพื่อลดความสูญเปล่าจากการเคลื่อนไหวส่งผลให้รอบเวลาการทำงานลดลงจาก 4.50 นาทีต่อชิ้นเป็น 3.37 นาทีต่อชิ้นผลต่างของรอบเวลาทำงานลดลงเป็น 1.13 นาทีคิดเป็นร้อยละ 25.11 และส่งผลให้ผลผลิตจากเดิม 114 ตัวต่อวันเป็น 195 ตัวต่อวันคิดเป็นผลผลิตเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 71.05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Thailand Textile Institute, “Thai textile and garment industry situation in September 2018.” (In Thai). [Online]. Available: https://www.thaitextile.org/th/insign/detail.744.1.0.html. [Accessed: 01-Nov-2018].

V. Rijiravanich, Work study: principles and case studies, (In Thai). 4th ed. Bangkok: Chulalongkorn University, 2005.

Toyota Motor Thailand Co., Ltd., Toyota production System Vol.2. Bangkok: Toyota Motor Thailand Co., Ltd., 2008.

Japan Industrial Engineering Technology, Users’ Guide Development Type Work Analysis Software (Time Prism) Ver.1.9.0. Japan: JIET., 2014.

Siriporn Nukrob, “An Application of Toyota Production System Case study of Automotive Part Company in the Hemaraj Eastern Seaboard Pluakdeang District Rayong Province (in Thai),” Master’s thesis (Logistics and Supply chain Management), Burapha University, Chonburi, Thailand, 2016.

Chakkrit Hanyala, “Developing Production Process Efficiency of Garment Factory A Case Study of Northern Airtime Company,” Industry Technology Lampang Rajabhat University, vol. 7, no. 1, pp. 14-25, 2014.

Waraporn Wongnil, “Productivity improvement for girls dresser production process,” Master’s thesis (Engineering Management), Dhurakij Pundit University, Bangkok, Thailand, 2015.

Nuchsara Kriengkorakot, Preecha Kriengkorakot, Skaw Duan Phrom Thung, Wichitra Piromsuk, “Repair work Reduction in Sewing Process of the Apparel Factory.” (In Thai). Proceedings of Ubon Ratchathani University National Research Conference, 10th UBRC, Ubon Ratchathani, July 7-8, 2016, pp. 87-96.

Niwat Dechampai, Kanchana Sethanan, “An Application of Lean Manufacturing System in The Textile of Lean Manufacturing System in the Textile and Garment Industry Case study: Wacoal Kabinburi co.,Ltd,” (In Thai). MBA-KKU Journal, vol. 7 no. 2, pp. 13-27, 2014.