การทดสอบระบบทำความชื้นแบบนาฟเฟียนเมมเบรนกับหาเซลล์เชื้อเพลิงแบบเพ็มขนาด 300 วัตต์
Main Article Content
บทคัดย่อ
เซลล์เชื้อเพลิงชนิดเมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตอน (PEMFC) เข้ากันได้ดีกับรถยนต์ไฮโดรเจน สิ่งสำคัญประการหนึ่ง คือ การจัดการความชื้นของก๊าซเชื้อเพลิงโดยใช้เครื่องควบคุมความชื้น งานวิจัยนี้ได้ทดสอบระบบควบคุมความชื้นแบบนาฟเฟียนเมมเบรน (Nafion Membrane Humidifier : NMH) สำหรับหอเซลล์ PEMFC ขนาด 300 วัตต์ ผลการทดสอบแสดงว่าที่อุณหภูมิท่อนำก๊าซไฮโดรเจน 80 oC กำลังไฟฟ้าสูงสุดคือ 21.4 วัตต์ เมื่อแปรผันอุณหภูมิท่อนำก๊าซเป็น 60, 70 และ 80 oC ตามลำดับ ค่าความชื้นสัมพัทธ์ (%RH) ในกระแสก๊าซไฮโดรเจนที่ได้เป็น 30.9%, 28.0% และ 32.6% ตามลำดับ และค่า %RH ของก๊าซออกซิเจนเป็น 17.0% , 13.2% และ 10.0% ตามลำดับ ส่งผลให้กำลังไฟฟ้าที่ได้เป็น 193.68, 193.44 และ 212.4 วัตต์ ตามลำดับ ทางด้านการศึกษาเชิงทฤษฎีนั้น แบบจำลองเครื่องทำความชื้นเมื่อทำงานร่วมกับเซลล์เชื้อเพลิงสามารถทำนายความสัมพันธ์ระหว่างค่าความชื้นสัมพัทธ์ของกระแสชื้นที่ทางออก NHM และกำลังไฟฟ้าที่ได้ของ PEMFC ในระดับความแม่นยำที่ยอมรับได้
Article Details
นโยบายการรับบทความ
กองบรรณาธิการวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น มีความยินดีรับบทความจากอาจารย์ประจำ และผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่นที่นำส่ง ดังนั้นผู้สนใจที่จะร่วมเผยแพร่ผลงานและความรู้ที่ศึกษามาสามารถนำส่งบทความได้ที่กองบรรณาธิการเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการกลั่นกรองบทความพิจารณาจัดพิมพ์ในวารสารต่อไป ทั้งนี้บทความที่สามารถเผยแพร่ได้ประกอบด้วยบทความวิจัย ผู้สนใจสามารถศึกษาและจัดเตรียมบทความจากคำแนะนำสำหรับผู้เขียนบทความ
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏภายในบทความของแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็น ความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น และคณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในสถาบัน แต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา ทัศนะ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความในวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากผู้นิพนธ์ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
ผู้ประสงค์จะส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สามารถส่ง Online ที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/TNIJournal/ โปรดสมัครสมาชิก (Register) โดยกรอกรายละเอียดให้ครบถ้วนหากต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่
- กองบรรณาธิการ วารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
- ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
เลขที่ 1771/1 สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ซอยพัฒนาการ 37-39 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 ติดต่อกับคุณพิมพ์รต พิพัฒนกุล (02) 763-2752 , คุณจุฑามาศ ประสพสันติ์ (02) 763-2600 Ext. 2402 Fax. (02) 763-2754 หรือ E-mail: JEDT@tni.ac.th
References
D. Hyun and J. Kim (2004). “Study of external humidification method in proton exchange membrane fuel cell”, Journal of Power Sources, Vol. 126, pp. 98–103.
D. Chen, W. Li and H. Peng (2008). “An experimental study and model validation of a membrane humidifier for PEM fuel cell humidification control”, Journal of Power Sources, Vol. 180, pp. 461–467.
F.-B. Weng, B.-S. Jou, C.-W. Li, A. Su and S.-H. Chan (2008). “The effect of low humidity on the uniformity and stability of segmented PEM fuel cells”, Journal of Power Sources, Vol. 181, pp. 251–258.
นายนฤทธ์ หล่อประดิษฐ์. (2553). “การจัดการความชื้นภายนอกของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดเมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตอน”, วิทยานิพนธ์ : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิศวกรรมพลังงาน, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.