การผลิตบิวทานอลจากเปลือกถั่วเหลืองด้วยเชื้อ Clostridium saccharobutyricum ATCC BAA117
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการผลิตบิวทานอนจากเปลือกถั่วเหลืองด้วยเชื้อ Clostridium saccharobutyricum ATCC BAA117 โดยการศึกษาสภาวะของการผลิตน้ำตาลรีดิวซ์จากการย่อยสลายเปลือกถั่วเหลืองด้วยกรดซัลฟิวริกเจือจางและผลิตบิวทานอลจากสารละลายน้ำตาลที่ได้จากการทำปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส พบว่า การย่อยสลายเปลือกถั่วเหลืองด้วยกรดซัลฟิวริกเจือจางที่สภาวะเหมาะสม คือ ความเข้มข้นกรดซัลฟิวริก ร้อยละ 5 โดยปริมาตร ที่อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 15 นาที ในหม้อแรงดันสูง โดยผลิตน้ำตาลรีดิวซ์เท่ากับ 31.86 กรัมต่อลิตร อีกทั้งสารละลายน้ำตาลที่ได้การปฏิกิริยาดังกล่าวสามารถนำมาใช้ผลิตบิวทานอลด้วยเชื้อ Clostridium saccharobutyricum ATCC BAA117 (ความเข้มข้นน้ำตาลเริ่มต้น 30 กรัมต่อลิตร) คิดเป็นความเข้มข้นบิวทานอลเท่ากับ 11.82 กรัมต่อลิตร คิดเป็นความเข้มข้นตัวทำละลายรวมเท่ากับ 30.31 กรัมต่อลิตร
Article Details
นโยบายการรับบทความ
กองบรรณาธิการวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น มีความยินดีรับบทความจากอาจารย์ประจำ และผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่นที่นำส่ง ดังนั้นผู้สนใจที่จะร่วมเผยแพร่ผลงานและความรู้ที่ศึกษามาสามารถนำส่งบทความได้ที่กองบรรณาธิการเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการกลั่นกรองบทความพิจารณาจัดพิมพ์ในวารสารต่อไป ทั้งนี้บทความที่สามารถเผยแพร่ได้ประกอบด้วยบทความวิจัย ผู้สนใจสามารถศึกษาและจัดเตรียมบทความจากคำแนะนำสำหรับผู้เขียนบทความ
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏภายในบทความของแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็น ความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น และคณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในสถาบัน แต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา ทัศนะ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความในวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากผู้นิพนธ์ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
ผู้ประสงค์จะส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สามารถส่ง Online ที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/TNIJournal/ โปรดสมัครสมาชิก (Register) โดยกรอกรายละเอียดให้ครบถ้วนหากต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่
- กองบรรณาธิการ วารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
- ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
เลขที่ 1771/1 สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ซอยพัฒนาการ 37-39 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 ติดต่อกับคุณพิมพ์รต พิพัฒนกุล (02) 763-2752 , คุณจุฑามาศ ประสพสันติ์ (02) 763-2600 Ext. 2402 Fax. (02) 763-2754 หรือ E-mail: JEDT@tni.ac.th
References
A.Herrera, S. J. Tellez-Luis, Juan J. G. Cabriales, J. A. Ramirez, M.Vazquez. “Effect of the Hydrochliric Acid Concentration on the Hydrolysis of Sorghum Straw at Atmospheric Pressure.” Journal of Food Engineering 63, 2004, pp 103-109.
D.T.Jones, D. R. Woods. Acetone-Butanol Fermentation Revisited. American Society for Microbiology, 1986.
E. Palmqvist, B.H. Hagerdal. “Fermentation of Lignocellulosic Hydrolysates. Ii: Inhibitors and Mechanisms of Inhibition.” Bioresource Technology 74, 2000, pp 25-33.
L. T. Fan, Y. H. Lee, M. M. Gharpuray. “The Nature of Lignocellulosics and Their Pretreatments for Enzymatic Hydrolsis.” Adv. Biochem. Eng. 23, 1982, pp 158-187.
N. Qureshi, X. L. Li, S. Hughes, B. C. Saha and M. A. Cotta. “Butanol Production from Corn Fiber Xylan Using Clostridium Acrtobutylicum.” Biotechnology Progress 22, 2006, pp 673-680.
P. Lenihan, A. Orozco, E. O’Neil, M.N.M. Ahmad, D.W. Rooney, G.M. Walker. “Dilute Acid Hydrolysis of Lignocellulosic Biomass.” Chemical Engineering Journal 156, 2010, pp 395-403.
Xue-bing Zhao, L. W. a. D.-h. L. “Effect of several factors on peracetic acid pretreatment of sugarcane bagasse for enzymatic hydrolysis.” Journal of Chemical Technology and Biotechnology 82, 2007, pp 1115-1121.
Sjolander N.O., Langlykke A.F., Peterson W.H., “Butyl Alcohol Fermentation of wood Suger.” Ind, eng. Chem. 30, 1938, pp 11.
Baugh, K. D. (1983) Rate of formation/decomposition and methane fermentability of autohydrolysis product from lignocellulose, Standford University
Mitchell W.J, Physiology of carbohydrates to solvent conversion by clostridia. Adv Microb Physio, 39, 1998, pp 31-130.