แบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับการประมาณค่าการเคลื่อนที่ของตามสามมิติโดยใช้ภาพตาสองมิติ
Main Article Content
บทคัดย่อ
ปัจจุบันมีการศึกษาการประมาณการเคลื่อนที่ของตาในระบบ 3 มิติ มากขึ้น งานวิจัยนี้จึงนำเสนอแบบจำลองทางคณิตศาสตร์โดยใช้การหมุนของเมทริกซ์ในการประมาณค่าการเคลื่อนที่ในระบบ 3 มิติ ของตา จากภาพตาจริง 2 มิติจากกล้องอินฟราเรด ขั้นตอนการทำงานประกอบด้วย 2 ขั้นตอนหลัก 1) การสร้างแบบจำลองตา 3 มิติ 2) การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ขั้นตอนแรกแบบจำลองตา 3 มิติ ถูกสร้างขึ้นโดยใช้ไลบรารี่ OpenGL หมุน +50 องศาส รอบแกนนอนและแกนตั้ง โดยใช้ค่าความยาวจของเส้นแนวนอน และแนวตั้งบนรูม่านตาเป็นตัวกำหนดการหมุนของเมตริกซ์ในการหมุนพิกัดอ้างอิงเพื่อหาขนาดของเส้นอ้างอิงบนรูม่านตา ขนาดของเส้นอ้างอิงจะนำไปเทียบกับภาพตาจริง 2 มิติ ประสิทธิภาพของแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่สร้างขึ้นทดสอบโดยใช้แบบจำลองตา 3 มิติ หมุน+50 องศา รอบแกนนอน และแกนตั้ง มีความถูกต้องของค่าการเคลื่อนที่ แกนนอน (Rex) และแกนตั้ง (Rey) คือ 99.53% และ 99.29% เมื่อนำภาพจริง2 มิติ มาหาค่าการเคลื่อนที่ในระบบ 3 มิติ ผลเป็นที่น่าพึงพอใจ แบบจำลองตา 3 มิติสามารถเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกับภาพตา 2 มิติ งานวิจัยนี้สามารถประมาณค่าการเคลื่อนที่ของตาในระบบสามมิติโดยใช้กล้องแค่หนึ่งตัวต่อตาหนึ่งข้าง ซึ่งสามารถนำไปต่อยอกในการวินิจฉัยระดับของอาการตากระตุกได้
Article Details
นโยบายการรับบทความ
กองบรรณาธิการวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น มีความยินดีรับบทความจากอาจารย์ประจำ และผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่นที่นำส่ง ดังนั้นผู้สนใจที่จะร่วมเผยแพร่ผลงานและความรู้ที่ศึกษามาสามารถนำส่งบทความได้ที่กองบรรณาธิการเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการกลั่นกรองบทความพิจารณาจัดพิมพ์ในวารสารต่อไป ทั้งนี้บทความที่สามารถเผยแพร่ได้ประกอบด้วยบทความวิจัย ผู้สนใจสามารถศึกษาและจัดเตรียมบทความจากคำแนะนำสำหรับผู้เขียนบทความ
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏภายในบทความของแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็น ความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น และคณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในสถาบัน แต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา ทัศนะ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความในวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากผู้นิพนธ์ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
ผู้ประสงค์จะส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สามารถส่ง Online ที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/TNIJournal/ โปรดสมัครสมาชิก (Register) โดยกรอกรายละเอียดให้ครบถ้วนหากต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่
- กองบรรณาธิการ วารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
- ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
เลขที่ 1771/1 สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ซอยพัฒนาการ 37-39 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 ติดต่อกับคุณพิมพ์รต พิพัฒนกุล (02) 763-2752 , คุณจุฑามาศ ประสพสันติ์ (02) 763-2600 Ext. 2402 Fax. (02) 763-2754 หรือ E-mail: JEDT@tni.ac.th
References
F. Tombari, S.Mattoccia., L. D. Stefano and E. Addimanda, “Classification and Evaluation of Cost Aggregation Methods for Stereo Correspondence,” IEEE Conference on Computer Vision and Pattern Recognition (CVPR 2008), 2008, pp. 1-8.
H. C. Longuet-Higgind, “A computer algorithm for reconstructing a scene from two projections”, Nature, vol.239, 1981, pp. 133-135
Y. Y. Huang, M. Y. Chen, “3D Object Model Recovery from 2D Images Utilizing Corner Detection,” 2011 Internal Conference on system science and engineering (ICSSE 2011), Macau, China, 2011, pp. 76-81
S. Wibirama, S. Tungjitkusolmun, Ch. Pimtavirooj, and K. Hamamoto, “Dual Cameras Acquisition for Three-Dimensional Eye-Motion Tracking,” 2nd Biomedical Engineering International Conference(BMEiCON 2009), Thailand, 2009, pp. 126-130
S. Dong, “vision Measurement Method with Single Camera and 2-Axis Acclerometer Sensor,” 2013 4th International Conference on Intelligent Control and Information Processing (ICICIP), Beijing, China, 2013, pp. 25-29
Th. Charoenpong, P. Preeyanan, Ch. Theerasak and M. Visan, “Accurate Pupil Extraction Algorithm by Using Integrated Method,” 2013 5th Internation Conference on Knowledge and Smart Technology (KST2013), Thailand, 2013, pp. 32-37.
Th. Charoenpong, Sr. Thewsuwan, Th. Chanwimalueng and V. Mahasithiwat, “Pupil Extraction System for Nystagmus Diagnosis by Using K-Mean Clustering and Mahalanobis Distance Technique,” 4th lnt. Conf. on Knowledge and Smart Technology (KST), Thailand, 2012, pp: 24-29.
Th. Charoenpong, Sr. Thewsuwan, Th. Chanwimalueng and V. Mahasithiwat, “Accuracy Improvement of Pupil Extraction by Using Shape Estimation Algorithm,” Int. Workshop on Smart Info-Media System in Asia (SISA 2012), Thailand, 2012, pp: 33-38.