ระบบแจ้งเตือนอุบัติเหตุอัตโนมัติโดยใช้เพอร์เซปตรอนหลายชั้น
Main Article Content
บทคัดย่อ
อุบัติเหตุทางรถยนต์ที่มีความรุนแรงอาจส่งผลให้ผู้ประสบอุบัติเหตุหมดสติหรือไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ระบบแจ้งเตือนอุบัติเหตุแบบอัตโนมัติจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ซึ่งประกอบด้วยแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือที่ใช้แบบจำลองที่พัฒนาด้วยโครงข่ายประสาทเทียมแบบเพอร์เซปตรอนหลายชั้น โดยจำแนกอุบัติเหตุออกเป็น 5 เหตุการณ์ ได้แก่ รถไม่เกิดอุบัติเหตุ รถชนแล้วหยุดอยู่กับที่ รถชนแล้วไถลไปทางขวา รถชนแล้วไถลไปทางซ้าย และรถพลิกคว่ำ การสร้างแบบจำลองจะใช้รถบังคับขนาดเล็ก รถบั๊ม และโทรศัพท์มือถือ เพื่อจำลองเหตุการณ์เสมือนจริง โดยใช้ชุดข้อมูลฝึกสอนจำนวน 145 ชุด และชุดข้อมูลสำหรับการประเมินผล 40 ชุด ผลการทดลองพบว่าแบบจำลองสามารถจำแนกอุบัติเหตุได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 95 ซึ่งข้อมูลจากเซนเซอร์วัดความเร่งบนรถบังคับขนาดเล็กและรถบั๊มจะนำไปหาความสัมพันธ์เพื่อสร้างแบบจำลองสำหรับการจำแนกอุบัติเหตุทางรถยนต์จริงในอนาคตต่อไป
Article Details
นโยบายการรับบทความ
กองบรรณาธิการวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น มีความยินดีรับบทความจากอาจารย์ประจำ และผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่นที่นำส่ง ดังนั้นผู้สนใจที่จะร่วมเผยแพร่ผลงานและความรู้ที่ศึกษามาสามารถนำส่งบทความได้ที่กองบรรณาธิการเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการกลั่นกรองบทความพิจารณาจัดพิมพ์ในวารสารต่อไป ทั้งนี้บทความที่สามารถเผยแพร่ได้ประกอบด้วยบทความวิจัย ผู้สนใจสามารถศึกษาและจัดเตรียมบทความจากคำแนะนำสำหรับผู้เขียนบทความ
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏภายในบทความของแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็น ความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น และคณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในสถาบัน แต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา ทัศนะ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความในวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากผู้นิพนธ์ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
ผู้ประสงค์จะส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สามารถส่ง Online ที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/TNIJournal/ โปรดสมัครสมาชิก (Register) โดยกรอกรายละเอียดให้ครบถ้วนหากต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่
- กองบรรณาธิการ วารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
- ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
เลขที่ 1771/1 สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ซอยพัฒนาการ 37-39 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 ติดต่อกับคุณพิมพ์รต พิพัฒนกุล (02) 763-2752 , คุณจุฑามาศ ประสพสันติ์ (02) 763-2600 Ext. 2402 Fax. (02) 763-2754 หรือ E-mail: JEDT@tni.ac.th
References
“ศูนย์ข้อมูลอุบัติเหตุ,” Thai RSC, 2559. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.thairsc.com/TH/stataccidentonfestival. [เข้าถึงเมื่อ: 29-มี.ค.-2559].
“แอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)” วิกิพีเดีย, 2560. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/แอนดรอยด์_(ระบบปฏิบัติการ) [เข้าถึงเมื่อ: 31-มี.ค.-2559].
“ภาษาจาวาและภาษาซี,” pilaslakexo. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/pilaslakeo/baeb-fukhad-thi. [เข้าถึงเมื่อ: 3-เม.ย.-2559].
เมธาสิทธิ์ ปูชิตภากรณ์. “ความหมายของเทคโนโลยี Location Based Service
(LBS)” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:https://locationbasedbc429.wordpress.com/ความหมายของเทคโนโลยี-location-based-serv [เข้าถึงเมื่อ: 3-เม.ย.-2559].
“ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php [เข้าถึงเมื่อ: 3-เม.ย.-2559].
“API คืออะไร เอพีไอ คือ ช่องทางหนึ่งที่จะเชื่อมต่อกับเว็บไซต์ผู้ให้บริการ API จากที่อื่น,” mindphp. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.mindphp.com/คู่มือ/73-คืออะไร/2038-Api-คืออะไร.html [เข้าถึงเมื่อ: 3-เม.ย.-2559].
Siri.thip, “Google Maps,” munaliza, 2554. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://munaliza.blogspot.com/2011/08/google-maps.html. [เข้าถึงเมื่อ:
-เม.ย.-2559].
K. Athimokkakul, “Google map” [online].Available: https://www.slideshare. net/foglie1/google-map-6708309 [Accessed: 3-เม.ย.-2559].
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. “Google Maps” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:www.sci.rmutt.ac.th/burasakorn/ Internet/13-Week-Google%20Maps.ppt [เข้าถึงเมื่อ: 3-เม.ย.-2559].
P. Pacharoen, “เซนเซอร์ตรวจวัดสภาพแสง และตรวจจับการเคลื่อนไหวบนสมาร์ทโฟน,” 04-Aug-2015. [ออนไลน์]. Available: https://www.oopsmobile. net/ambient_accelerator_sensor/. [เข้าถึงเมื่อ: 3-เม.ย.-2559].
วิทยา พรพัชรพงศ์. “โครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Networks–ANN)” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:https://www.gotoknow.org /posts/163433. [เข้าถึงเมื่อ: 5-ต.ค.-2559].
“โครงข่ายประสาทเทียม” วิกิพีเดีย, 2560. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/แอนดรอยด์_(ระบบปฏิบัติการ) [เข้าถึงเมื่อ: 31-มี.ค.-2559].
F. Aloul, I. Zualkernan, R. Abu-Salma, H. Al-Ali, and M. Al-Merri, “iBump: Smartphone application to detect car accidents,” Computers & Electrical Engineering, vol. 43, no. Supplement C, pp. 66–75, Apr. 2015.