โมบายแอปพลิเคชันสำหรับเช็คชื่อนักศึกษาเข้าห้องเรียนด้วยเทคโนโลยีเอ็นเอฟซีบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์
Main Article Content
บทคัดย่อ
ในปัจจุบันการเช็คนักศึกษาด้วยการขานชื่อ ใช้เวลาอย่างมาก เนื่องจากต้องขานชื่อเป็นรายบุคคลทำให้ใช้เวลานาน อีกทั้งหากผู้เรียนมาสายและมีความจำเป็นที่จะมีการเช็คชื่อ อาจจะส่งผลให้ทำให้การเรียนการสอนหยุดชะงักหรือเป็นการรบกวนต่อผู้เรียนคนอื่น จากปัญหาที่กล่าวมางานวิจัยนี้นำเสนอการออกแบบและพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันสำหรับเช็คชื่อนักศึกษาเข้าห้องเรียนด้วยเทคโนโลยีเอ็นเอฟซีบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ โดยขั้นตอนการออกแบบประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ 1.ขั้นตอนวิเคราะห์ความต้องการของระบบ 2.นำผลการวิเคราะห์ความต้องการมาออกแบบแอฟลิเคชัน 3. พัฒนาระบบที่ได้ออกแบบไว้ 4.นำแอปพลิเคชันไปทดสอบการใช้งานเพื่อประเมินผล ซึ่งกระบวนการวิเคราะห์และออกแบบระบบจะใช้ UML เข้ามาช่วย สำหรับผลจากการประเมินผลการใช้งานแอปพลิเคชันพบว่าสามารถลดเวลาเช็คชื่อนักศึกษาไปได้ 30.12% เมื่อเทียบกับวิธีขานชื่อ ในกรณีที่นักศึกษามาพร้อมกันแล้ว
Article Details
นโยบายการรับบทความ
กองบรรณาธิการวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น มีความยินดีรับบทความจากอาจารย์ประจำ และผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่นที่นำส่ง ดังนั้นผู้สนใจที่จะร่วมเผยแพร่ผลงานและความรู้ที่ศึกษามาสามารถนำส่งบทความได้ที่กองบรรณาธิการเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการกลั่นกรองบทความพิจารณาจัดพิมพ์ในวารสารต่อไป ทั้งนี้บทความที่สามารถเผยแพร่ได้ประกอบด้วยบทความวิจัย ผู้สนใจสามารถศึกษาและจัดเตรียมบทความจากคำแนะนำสำหรับผู้เขียนบทความ
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏภายในบทความของแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็น ความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น และคณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในสถาบัน แต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา ทัศนะ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความในวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากผู้นิพนธ์ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
ผู้ประสงค์จะส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สามารถส่ง Online ที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/TNIJournal/ โปรดสมัครสมาชิก (Register) โดยกรอกรายละเอียดให้ครบถ้วนหากต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่
- กองบรรณาธิการ วารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
- ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
เลขที่ 1771/1 สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ซอยพัฒนาการ 37-39 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 ติดต่อกับคุณพิมพ์รต พิพัฒนกุล (02) 763-2752 , คุณจุฑามาศ ประสพสันติ์ (02) 763-2600 Ext. 2402 Fax. (02) 763-2754 หรือ E-mail: JEDT@tni.ac.th
References
A. A. Olanipekun and O. Boyinbode, “A RFID Based Automatic Attendance System in Educational Institutions of Nigeria,” International Journal of Smart Home, vol. 9, pp. 65–74, Dec. 2015.
N. Saparkhojayev and S. Guvercin, “Attendance Control System based on RFID-technology,” International Journal of Computer Science Issues, vol. 9, May 2012.
M. H. Abd Wahab, H. Abdul Kadir, M. N. M. Yusof’s, and R. Tomari, “Class Attendance System using Active RFID: A Review,” 2009. [Online]. Available: https://mafiadoc.com/class-attendance-system-using-active-rfid-a-review_5a0e2aca1723dd2cd9202ead.html. [Accessed: 02-Feb-2017].
R. Patel, N. Patel, and M. Gajjar, “Online Students’ Attendance Monitoring System in Classroom Using Radio Frequency Identification Technology: A Proposed System Framework,” International Journal of Emerging Technology and Advanced Engineering, vol. 5, Feb. 2012.
T. Arulogun, A. Olatunbosun, F. A, and O. Olayemi Mikail, “RFID-Based Students Attendance Management System,” International Journal of Engineering and Scientific Research, vol. 4, Jul. 2013.
B. Ahmad, M. Ayu, “TouchIn: An NFC Supported Attendance System in a University Environment,” International Journal of Information and Education Technology, vol. 4, Jan. 2014.
Android Open Source Project. “Settings Secure,” 2014. [Online]. Available: https://developer.android.com/reference/ android/provider/ Settings.Secure.html#ANDROID_ID. [Accessed: 02-Feb-2017].
Android Open Source Project. “Host-based Card Emulation,” 2015. [Online]. Available: https://developer.android.com/guide/topics/connectivity/nfc/hce.html. [Accessed: 02-Feb-2017].
Microsoft. “Introduction to ASP.NET Core,” 2016. [Online]. Available: https://docs.microsoft.com/en-us/aspnet/core/. [Accessed: 02-Feb-2017].
I. Fette and A. Melnikov. “RFC6455 The Web Socket Protocol.” 2011. [Online]. Available: https://tools.ietf.org/html/rfc6455. [Accessed: 02-Feb-2017].
Microsoft. “Introduction to Identity.” 2013. [Online]. Available:https://docs. microsoft.com/en-us/aspnet/core/security/authentication/ identity
Auth0 Inc. “Introduction to JSON Web Tokens.” 2013. [Online]. Available: https://jwt.io/introduction