Raw Water Canal Stabilization for Protection against flood

Main Article Content

Khomkrit Wetchasat

Abstract

Metropolitan Waterworks Authority (MWA) had been greatly affected by the flood disaster in October to November 2011. Overwhelming low quality water from the flooded Industrial Park and its surrounding communities overflowed the canal’s dyke and entered into the east bank raw water canal. As the result, MWA needed to increase the amount of chemicals to cope with such unacceptably low quality of raw water. Temporary dyke was also constructed along the canal with afford to stop low quality water to additionally enter into the canal. After the crisis, permanent scheme for protecting the entire length of canal from Bangkhen Water Treatment Plant to Samlae Raw Water Pumping Station is developed into the urgent plan. The objective of this paper was to studied appropriate flood protecting structures for raw water canal that optimized all requirements including limited time and cost. Additionally, the method of piling along the canal’s existing dyke that provided the minimum effect to slope stability was also of interest. Findings could be drawn as follows; The final solution for flood protection should be comprised of 3 main forms of structures including 1) light reinforced concrete retaining structure, 0.22×0.22×12 m L-shape pile, 2) reinforced concrete retaining wall, 0.35×0.35×14 m I-shape pile, 3) compacted clay dyke. Having been finished, these structures were expected to effectively provide sustainable protection to east bank raw water canal as well as provide acceptably improved canal’s stability.

Article Details

Section
Research Article
Author Biography

Khomkrit Wetchasat, การประปานครหลวง

ว่าที่ร้อยเอก วิศวกร ดร. คมกริช เวชสัสถ์ ภูมิลำเนาเกิดจังหวัดชัยภูมิ จบการศึกษาวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต และวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีธรณี โปรแกรมวิชาวิศวกรรมธรณีและธรณีวิทยาประยุกต์ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และได้รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมโยธา (สย.8851) และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (สส.211) จากสภาวิศวกร เคยเป็นผู้ช่วยสอนและผู้ช่วยวิจัยในวิชา General Geology, Rock Mechanics, Rock Slope Engineering, Underground Excavations in Rock, Mining Geology, Numerical Methods in Geomechanics มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เคยเป็นอาจารย์และอาจารย์พิเศษ ผู้สอนในวิชา ปฐพีกลศาสตร์ กลศาสตร์วัสดุ การสำรวจ ธรณีวิทยาสำหรับวิศวกร วิศวกรรมธรณี วิศวกรรมการประปา สุขาภิบาลอาคาร ของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตสุพรรณบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และมหาวิทยาลัยรามคำแหง ปัจจุบันดำรงตำแหน่งและปฏิบัติหน้าที่ วิศวกร ของการประปานครหลวง กรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ยังเป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความซื่อสัตย์สุจริตและเที่ยงธรรมได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งเป็น ผู้พิพากษาสมทบ ในศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง, ได้รับการแต่งตั้งเป็น ผู้สังเกตการณ์ ในโครงการข้อตกลงคุณธรรม กรมบัญชีกลางร่วมกับองค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน (ประเทศไทย), เป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ในคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน กระทรวงพลังงาน และเป็นพี่เลี้ยงผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพเพื่อผู้ประกอบการกิจการเพื่อสังคม (SE Mentor) ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีความเชี่ยวชาญและความสนใจการวิจัยและนวัตกรรมในด้านวิศวกรรมธรณี วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมการประปา วิศวกรรมการตลาด วิศวกรรมธุรกิจ วิศวกรรมการเงิน ทรัพย์สินทางปัญญา การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารสัญญา มีผลงานสำคัญทางวิชาชีพวิศวกรรม 37 โครงการ ผลงานสำคัญทางวิชาการและงานวิจัย 37 บทความ ผลงานวิทยานิพนธ์ 2 เรื่อง และได้รับรางวัลดีเด่นในงานประกวดแนวคิดนวัตกรรมประปาเพื่อประชาชน พ.ศ.2556 รางวัลชนะเลิศ โครงการเพื่อนำไปสู่การปรับใช้กับการขับเคลื่อนความเป็นเลิศขององค์กร การประปานครหลวง พ.ศ.2556 รางวัลดีเด่นอันดับ 2 โครงการประกวดผลงานการจัดการความรู้ดีเด่น การประปานครหลวง ประเภท Explicit Knowledge (Management) พ.ศ.2559

References

[1] Bowles, J.E. (1996). Foundation and Analysis Design. The McGraw-Hill Companies, Inc., pp. 123-132.
[2] Firat, S. (2009). "Stability analysis of pile-slope system". Scientific Research and Essay, Vol.4 (9), pp. 842-852, September.
[3] Janbu, N. (1954). "Application of Composite Slip Surfaces for Stability Analysis". Proceedings of the European Conference on Stability of Earth Slope, 3: 43-49.
[4] Jeong, S., B. Kim, J. Won and J. Lee. (2003). "Uncoupled Analysis of Stabilizing Pile in Weathered Slopes". Computers and Geotechnics, 30: 671-682.
[5] Lee, C.Y., T.S. Hull and H.G. Poulos. (1995). "Simplified Pile-Slope Stability Analysis". Com-put. Geotech, 17: 1-16.
[6] Martin, G.R. and C.Y. Chen. (2005). "Response of Piles due to Lateral Slope Movement". Com-put. Structure, 83: 588-598.
[7] Morgenstern, N.R. and V.E. Pric. (1965). "The Analysis of the Stability of General Slip Surfac-es". Geotech, 15 (1): 79-93.