การทำสำเนาดิจิตอล 3 มิติเพื่อการอนุรักษ์ลวดลายปูนปั้นบนสะพานมหาดไทยอุทิศ

Authors

  • คุณยุต เอี่ยมสอาด (1) ศูนย์ค้นคว้าและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2) ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • กิตตินาถ วรรณิสสร ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • วรัทยา ธรรมกิตติภพ ภาควิชาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • จักรพันธ์ วิลาสินีกุล ภาควิชาประติมากรรม คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • พิเชฐ เขียวประเสริฐ ภาควิชาประติมากรรม คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

Keywords:

Three-D Digital Copy, Conservation of Stucco

Abstract

งานวิจัยนี้ได้แสดงการนำเทคโนโลยีการสแกน 3 มิติ มาประยุกต์ในการอนุรักษ์ลวดลายปูนปั้นบนสะพานมหาดไทยอุทิศ เครื่องสแกน 3 มิติ 3 ชนิดได้แก่ (ก) เครื่องสแกนแบบ Handheld (ข) เครื่องสแกนแบบ Tripodmounted Structured Light และ (ค) เครื่องสแกนแบบ LASER ARM ถูกนำมาเปรียบเทียบเพื่อเลือกใช้เครื่องสแกนที่เหมาะสมกับงานลอกลายปูนปั้นประดับสะพานซึ่งเป็นโบราณสถาน จากผลการทดลองพบว่าเครื่องสแกนแบบ LASER 3 มิติ มีความเหมาะสมกับงานนี้ที่สุดเนื่องจากมีข้อดีหลายประการเมื่อเทียบกับการลอกลายแบบดั้งเดิมด้วยเรซินและเครื่องสแกนชนิดอื่น หลังจากการทำการสแกนเก็บสำเนาดิจิตอล 3 มิติ แล้วทางผู้วิจัยได้ทดลองการทำซ้ำด้วยเครื่องซีเอ็นซี

 

Three - D Digital Copy for the Conservation of Stucco on MaHardThai - Uthit Bridge

Three-D Scanning is adopted in this work in order to conserve the stucco on the Mahardthai-Utit Bridge. Three types of 3-D scanners are tested in order to compare and select the best scanner that fits to this work. (Scanning the stucco on a heritage bridge. From the tests, it is concluded that LASER 3-D Scanner is the best fit to this work among the three’s. In addition, the LASER scanning has more advantages over the old resin molding. After the 3-D scanning has been done, the three-D files are tested to check the repeatability of this method.

Downloads

Issue

Section

งานวิจัย (Research papers)