The study of factors that influence the use of high-speed train services in Eastern Economic Corridor (EEC)

Authors

  • Patraphorn Phornthepkasemsant -
  • Ratthaphong Meesit ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • วุฒิภัทร พันธุโยธี ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ณัฐพงษ์ ยศปัญญา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

Keywords:

ปัจจัย; บริการรถไฟ; รถไฟความเร็วสูง; เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

Abstract

The high-speed railway project is a major infrastructure project in the Eastern Economic Corridor (EEC) that the Thai government has invested in to help the country's economic development. To guarantee that this project provides excellent and timely service, this research aims to identify the factors that affect the utilization of high-speed train services in the EEC. A questionnaire was distributed to 400 Chonburi residents. The majority of individuals are expected to use the train at a proportion of 85.76 percent. The passengers' main goal is to travel. Safety, travel duration, train regularity, service quality, and availability are the top five most important factors. Local pick-up truck-taxi is the most popular feeder between the station and the city region. The route and taxi-stop scheduling, for example, should be improved in the pick-up truck-taxi service. As a result, it will continue to offer excellent railway service to passengers in the long term.

References

EIC Article (2017). EEC ความหวังใหม่ของเศรษฐกิจไทย: ทำไมต้องเริ่มตั้งแต่วันนี้? Available via https://www.scbeic.com/th/detail/product/3544. Accessed 15 พฤศจิกายน 2021.

EIC Article (2018). พัฒนา EEC ต้องเริ่มคิดเรื่องการกระจายผลประโยชน์. Available via https://www.scbeic.com/th/detail/product/49. 25 Accessed 20 พฤศจิกายน 2021.

EEC Article (2021). รถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน. Available via https://www.eeco.or.th/th/high-speed-rail-connecting-3-airports. Accessed 20 พฤศจิกายน 2021.

ธีรวัฒน์ เวชวงศ์วาน (2554). การวิเคราะห์การเลือกรูปแบบการเดินทางของรถไฟความเร็วสูงด้วยวิธี Stated Preference: กรณีศึกษาผู้เดินทางทางอากาศจากกรุงเทพฯสู่พื้นที่ภาคเหนือ. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วีรพงษ์ ชมภูนุช (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจเปลี่ยนจากรถยนต์เป็นรถขนส่งสาธารณะในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เอกวัฒน์ พันธาสุ และ มนสิชา เพชรานนท์ (2554). พฤติกรรมการเดินทางในเมืองหลักของภูมิภาค: กรณีศึกษาเมืองเชียงใหม่. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 10: 74–91.

ภาวัต ไชยชาณวาทิก และ ถิรยุทธ ลิมานนท์ (2556). พฤติกรรมการเดินทางระยะไกลของผู้พักอาศัยในกรุงเทพมหานคร: การศึกษาการเลือกรูปแบบการเดินทาง. วิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต, 3(2): 57-72.

อัจฉราภรณ์ จริชาติพงศ์ (2556). การให้บริการระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและสถานีที่รับ-ส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมืองของประเทศไทยในมุมมองของผู้ใช้บริการ. วิทยานิพนธ์บริหารธุกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

กาญจน์กรอง สุอังคะ (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะของผู้สูงอายุ: การประยุกต์ใช้แบบจำลองสมการโครงสร้าง. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี), 7(14): 129-142.

เชิดชาติ ตะโกจีน (2558). อิทธิพลของความคาดหวังในคุณภาพการให้บริการแรงจูงใจในการใช้บริการ และภาพลักษณ์ของการรถไฟแห่งประเทศไทยที่มีผลต่อความตั้งใจในการใช้บริการรถไฟโดยสารชั้น 1. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ก้านทอง บุหร่า (2559). แนวทางการปรับปรุงการรถไฟแห่งประเทศไทย. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 11(2): 279-288.

วริศรา เจริญศร (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้รถไฟฟ้าบีทีเอส. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (2019). สถิติจำนวนประชากร. Available https://stat.bora.dopa.go.th/new_stat/webPage/statByYear.php. Accessed 20 มิถุนายน 2020.

Taro Yamane (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rd Ed. New York.

Downloads

Published

2023-09-07

Issue

Section

งานวิจัย (Research papers)