TY - JOUR AU - อินทะแสง , ขนิษฐา AU - สุวัฒน์ บรรลือ, PY - 2021/12/02 Y2 - 2024/03/29 TI - คลังข้อมูลศิลปวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในจังหวัดอุบลราชธานี JF - วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี JA - J of Ind. Tech. UBRU VL - 11 IS - 2 SE - บทความวิจัย DO - UR - https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/jitubru/article/view/240290 SP - 27-40 AB - <p>การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) <strong>เพื่อ</strong>พัฒนาคลังข้อมูลศิลปวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในจังหวัดอุบลราชธานี 2) <strong>เพื่อประเมินความพึงพอใจระบบ</strong>คลังข้อมูลศิลปวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในจังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ<strong>บุคลากรองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 5 หน่วยงาน แบ่ง</strong>เป็นฝ่ายบริหาร 5 คน ฝ่ายปฏิบัติงาน 25 คน <strong>โดยเลือกการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาแบบสัมภาษณ์ ระบบ</strong>คลังข้อมูลศิลปวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในจังหวัดอุบลราชธานี และแบบประเมินความพึงพอใจมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประเมินค่า ตามวิธีของ ลิเคิร์ท<strong> ใช้ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ โปรแกรมพัฒนาระบบ ได้แก่ พีเอชพี มายเอชคิวแอล เอชทีเอ็มแอล และจาวาสคริปต์ </strong>สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) คลังข้อมูลศิลปวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในจังหวัดอุบลราชธานี สามารถทำงานได้จริงในรูปแบบเว็บแอ็ปพลิเคชัน &nbsp;และ<strong>สามารถจัดการข้อมูลข้อความ</strong><strong> ภาพ และวีดีโอภาพ ระบบสามารถแสดงตำแหน่งสถานที่ด้วยพิกัดแผนที่ และสนับสนุนการทำงานผ่านคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ และโทรศัพท์มือถือ </strong><strong>2) ความพึงพอใจระบบ</strong>คลังข้อมูลศิลปวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในจังหวัดอุบลราชธานี โดยภาพรวมมีระดับความพึงพอใจของผู้ใช้อยู่ในระดับมาก (<img title="\bar{X}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}">= 4.47, S.D = 0.09) จากผลประเมินความพึงพอใจของกลุ่มผู้ใช้งานอยู่ในระดับมาก แสดงให้เห็นว่าระบบที่พัฒนาขึ้นนี้ใช้งานได้จริงตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด</p> ER -