ต้นแบบเครื่องรับซื้อบรรจุภัณฑ์รีไซเคิลสำหรับโครงการธนาคารขยะ
Main Article Content
บทคัดย่อ
ในปัจจุบันขวดน้ำพลาสติกและกระป๋องอะลูมิเนียมเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ในการอุปโภคบริโภคที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ หากไม่มีกระบวนการคัดแยกที่เหมาะสมอาจกลายเป็นขยะมลพิษที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก วิธีการลดมลพิษจากขยะดังกล่าว เช่น การนำมาใช้ใหม่หรือนำมาประยุกต์ใช้ซ้ำที่เรียกว่า การรีไซเคิลจึงเป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนขยะที่มีให้มูลค่าและสามารถเพิ่มเป็นรายได้ได้อีกทางหนึ่ง คณะผู้วิจัยจึงได้คิดหาวิธีแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยได้ทำการศึกษาและรวบรวมข้อมูลเพื่อพัฒนาเครื่องรับซื้อบรรจุภัณฑ์รีไซเคิลสำหรับโครงการธนาคารขยะ เพื่อส่งเสริมกิจกรรมธนาคารขยะและปลูกจิตสำนึกที่ดีของคนในชุมชนในการช่วยป้องกันการเกิดปัญหาขยะที่ทำลายสิ่งแวดล้อมได้
ผลการทดลองพบว่าเครื่องรับซื้อบรรจุภัณฑ์รีไซเคิลสำหรับโครงการธนาคารขยะ มีความสามารถในการคัดแยกประเภทของกระป๋องขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ กระป๋องเหล็กและขวดพลาสติกได้ โดยคิดเป็นค่าเฉลี่ยโดยรวมถูกต้องได้ร้อยละ 99.60 และประสิทธิภาพในการบีบอัดสามารถลดขนาดของบรรจุภัณฑ์ทุกประเภทได้คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 54.33
Article Details
นโยบายการรับบทความ
กองบรรณาธิการวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น มีความยินดีรับบทความจากอาจารย์ประจำ และผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่นที่นำส่ง ดังนั้นผู้สนใจที่จะร่วมเผยแพร่ผลงานและความรู้ที่ศึกษามาสามารถนำส่งบทความได้ที่กองบรรณาธิการเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการกลั่นกรองบทความพิจารณาจัดพิมพ์ในวารสารต่อไป ทั้งนี้บทความที่สามารถเผยแพร่ได้ประกอบด้วยบทความวิจัย ผู้สนใจสามารถศึกษาและจัดเตรียมบทความจากคำแนะนำสำหรับผู้เขียนบทความ
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏภายในบทความของแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็น ความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น และคณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในสถาบัน แต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา ทัศนะ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความในวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากผู้นิพนธ์ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
ผู้ประสงค์จะส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สามารถส่ง Online ที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/TNIJournal/ โปรดสมัครสมาชิก (Register) โดยกรอกรายละเอียดให้ครบถ้วนหากต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่
- กองบรรณาธิการ วารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
- ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
เลขที่ 1771/1 สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ซอยพัฒนาการ 37-39 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 ติดต่อกับคุณพิมพ์รต พิพัฒนกุล (02) 763-2752 , คุณจุฑามาศ ประสพสันติ์ (02) 763-2600 Ext. 2402 Fax. (02) 763-2754 หรือ E-mail: JEDT@tni.ac.th
References
K. Rujiwichit, Research recycling rate to study the development of sustainable and appropriate waste management system for Thailand Phase 1. Bangkok: Thammasat University, 2014.
P. Chanthuma, “Success Factors in the Recycling Bank of Kham Ngnang Ruay in Kham Nam Saep Sub-district, Warinchamrap District, Ubon Ratchathani Province,” Area Based Development Research Journal, Vol. 6, No. 5, pp. 94-105, 2014.
Office of the National Economic and Social Development Board, The national development strategy according to the 12th National Economic and Social Development Plan. Bangkok: Office of the National Economic and Social Development, 2016.
R. Tomari, A. A. Kadir, W. N. W. Zakaria, M. F. Zakaria, M. H. A. Wahab, and M. H. Jabbar, “Development of Reverse Vending Machine (RVM) Framework for Implementation to a Standard Recycle Bin,” Procedia Computer Science, vol. 105, pp. 75–80, Jan. 2017.
D. Maunkhaw., et al., “Extrusion Process of Plasiic Wate for Pplastic Recycling,” presented at the Academic conference Sustainable Rural Development 2012 Local Community Foundations for the development of the ASEAN Economic Community”, Khon Kaen University, Khonkaen, 2012, p 391-396.
Refun Corporate. “Refun Machine.” [Online]. Available: https://refun.com/ refun-machine. [Accessed: 12-Oct-2017].
J. F. Hall. and D. Chen, “Dynamic Optimization of Drivetrain Gear Ratio to Maximize Wind Turbine Power Generation—Part 1: System Model and Control Framework,” Journal of dynamic systems, measurement, and control, Vol. 135 No. 1, 2013.