การศึกษาสถาปัตยกรรมแอพพลิเคชั่นบนคลาวด์คอมพิวติ้งสำหรับร้านอาหาร
Main Article Content
บทคัดย่อ
อุตสาหกรรมอาหารไทยมีบทบาทสำคัญในการเพิ่มมูลค่าผลผลิตการเกษตร โดย สถาบันอาหาร กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้มีการผลักดันเพื่อยกระดับร้านอาหารไทยให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับสากล การสร้างจุดข็งให้กับร้านอาหารจึงเป็นสิ่งที่สำคัญที่จะนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการบริหารและบริการ ในปัจจุบันด้านระบบเทคโนโลยี คลาวด์ (Cloud Computing) เป็นทางเลือกที่สำคัญ
งานวิจัยนี้สำรวจการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในธุรกิจอุตสาหกรรมร้านอาหารและเสนอแนวคิดและการออกแบบสถาปัตยกรรมระบบการจัดการร้านอาหารบนคลาวด์ และข้อมูลเชิงสำรวจทางด้านความต้องการระบบย่อยของแอพพลิเคชั่นสำหรับธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลางและข้อมูลด้านราคา ที่เป็นประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมร้านอาหารไทยที่จะใช้ในการวิเคราะห์และคัดเลือกแอพพลิเคชั่นที่เหมาะสมกับขนาดของธุรกิจ ในการช่วยตัดสินใจ การลงทุนหรือเปลี่ยนแปลงระบบที่มีอยู่ มุ่งไปสู่ระบบบนคลาวด์ที่มี scalability ดีขึ้น
Article Details
นโยบายการรับบทความ
กองบรรณาธิการวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น มีความยินดีรับบทความจากอาจารย์ประจำ และผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่นที่นำส่ง ดังนั้นผู้สนใจที่จะร่วมเผยแพร่ผลงานและความรู้ที่ศึกษามาสามารถนำส่งบทความได้ที่กองบรรณาธิการเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการกลั่นกรองบทความพิจารณาจัดพิมพ์ในวารสารต่อไป ทั้งนี้บทความที่สามารถเผยแพร่ได้ประกอบด้วยบทความวิจัย ผู้สนใจสามารถศึกษาและจัดเตรียมบทความจากคำแนะนำสำหรับผู้เขียนบทความ
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏภายในบทความของแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็น ความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น และคณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในสถาบัน แต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา ทัศนะ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความในวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากผู้นิพนธ์ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
ผู้ประสงค์จะส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สามารถส่ง Online ที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/TNIJournal/ โปรดสมัครสมาชิก (Register) โดยกรอกรายละเอียดให้ครบถ้วนหากต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่
- กองบรรณาธิการ วารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
- ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
เลขที่ 1771/1 สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ซอยพัฒนาการ 37-39 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 ติดต่อกับคุณพิมพ์รต พิพัฒนกุล (02) 763-2752 , คุณจุฑามาศ ประสพสันติ์ (02) 763-2600 Ext. 2402 Fax. (02) 763-2754 หรือ E-mail: JEDT@tni.ac.th
References
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, “Thailand Food Valley อนาคตประเทศไทย สู่หุบเขาอาหาร,” vol.2554-2555.
สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม, “ร่างยุทธศาสตร์ครัวไทยสู่ครัวโลก” vol.2555.
J. M. Garrett and R. Connelly, Customer interface restaurant system. San Diego, United States, 2014.
R. Shinde, P. Thakare, N. Dhomne, and S. Sarker, “Design and Implementation of Digital dining in Restaurants using Android,” International Journal, vol. 2, no. 1, 2014.
T. Kashima, S. Matsumoto, and H. Ishii, “Feasibility of Integrated Menu Recommendation and Self-Order System for Small-Scale Restaurants,” AIP Conference Proceedings, vol.1285, no. 1, pp. 132-144, Oct. 2010.
W. Williams and D. Simmonds, “A Case Study in the Design of a Restaurant Management System,” in FECS, 2010, pp. 187-193.
T. Fukuhara, R. Tenmoku, T. Okuma, R. Ueoka, M. Takehara, and T. Kurata, “Improving service processes based on visualization of human-behavior and POS data: A case study in a Japanese restaurant,” in Serviceology for Services, Springer, 2014, pp. 3-13.
Y. Zhu, “Construction of SaaS-based Restaurant Management System,” Information Technology Journal, vol. 13, no. 15, pp. 2489-2495, Dec. 2014.
S. Sarkar, R. Shinde, P. Thakare, N. Dhomne, and K. Bhakare, “Integration of Touch Technology in Reataurants using Android,” 2014.
S. L. Neubardt, Management of restaurant information and service by customers. New York City, United States, 2014.
J. R. Shimoff, J. C. Easley, G. T. Moothart, M. A. Birchem, and B. Casci, System and method for online management of restaurant orders. California, United States, 2014.
S. E. Kimes, “The future of distribution management in the restaurant industry,” Journal of Revenue & Pricing Management, vol. 10, no. 2, pp. 189-194, Mar. 2011.
T. Kaihara, N. Fujii, T. Nonaka, and T. Shinmura, “A Propasal of Adaptive Pestaurant Service Model with Co-creative Design,” in Serviceology for Services, Springer, 2014, pp. 203-211.
Niceloop application, https://www.niceloop.com/
Easyrestaurant application, https://www.easyrestaurant.asia/
Smlsoft application, https://www.smlsoft.com/
Businessplus application, https://www.businessplus.co.th/
Fr-asia application, https://www.fr-asia.com/
Littleproduct application, https://www.littleproduct.com/
Accusoft application, https://accusoft.co.th/home/Default.aspx
Liberty-computers application, https://www.liberty-computers.com/
Phoebepos application, https://www.phonebepos.com
Seniosoft application, https://www.seniorsoft.co.th/index.aspx
Aristosoft application, https://www.aristosoft.org/
Synaturegroup application, https://www.synaturegroup.com/