การตรวจจับฮาร์มอนิกด้วยวิธีการวิเคราะห์ฟูริเยร์แบบวินโดว์เลื่อน สำหรับระบบไฟฟ้ากำลังหนึ่งเฟส
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอการตรวจจับฮาร์มอนิกด้วยวิธีการวิเคราะห์ ฟูริเยร์แบบวินโดว์เลื่อน (Sliding Window with Fourier Analysis: SWFA) สำหรับใช้คำนวณหากระแสอ้างอิงให้กับวงจรกรองกำลังแอกทีฟเพื่อฉีดกระแสชดเชยกำจัดฮาร์มอนิกในระบบไฟฟ้ากำลังหนึ่งเฟส วิธี SWFA เป็นวิธีที่ให้ผลการคำนวณตรวจจับฮาร์มอนิกถูกต้องแม่นยำ และมีความรวดเร็วในการประมวลผล การทดสอบสมรรถนะการตรวจจับฮาร์มอนิก ด้วยวิธี SWFA จะใช้การจำลองสถานการณ์ด้วยโปรแกรม Simulink/MATLAB ซึ่งผลการจำลองสถานการณ์การกำจัดฮาร์มอนิกในระบบไฟฟ้าที่ต่อเข้ากับโหลดวงจรเรียงกระแสที่มีโหลดเป็นตัวต้านทานอนุกรมกับตัวเหนี่ยวนำ พบว่า วงจรกรองกำลังแอกทีฟที่ฉีดกระแสชดเชยตามลักษณะกระแสอ้างอิงที่ได้จากวิธี SWFA สามารถชดเชยกระแสที่แหล่งจ่ายให้มีลักษณะใกล้เคียงรูปคลื่นไซน์บริสุทธิ์ และมีค่าเปอร์เซ็นต์ความเพี้ยนฮาร์มอนิกรวม (%THD) อยู่ในกรอบมาตรฐาน IEEE std. 519-2014
Article Details
นโยบายการรับบทความ
กองบรรณาธิการวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น มีความยินดีรับบทความจากอาจารย์ประจำ และผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่นที่นำส่ง ดังนั้นผู้สนใจที่จะร่วมเผยแพร่ผลงานและความรู้ที่ศึกษามาสามารถนำส่งบทความได้ที่กองบรรณาธิการเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการกลั่นกรองบทความพิจารณาจัดพิมพ์ในวารสารต่อไป ทั้งนี้บทความที่สามารถเผยแพร่ได้ประกอบด้วยบทความวิจัย ผู้สนใจสามารถศึกษาและจัดเตรียมบทความจากคำแนะนำสำหรับผู้เขียนบทความ
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏภายในบทความของแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็น ความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น และคณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในสถาบัน แต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา ทัศนะ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความในวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากผู้นิพนธ์ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
ผู้ประสงค์จะส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สามารถส่ง Online ที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/TNIJournal/ โปรดสมัครสมาชิก (Register) โดยกรอกรายละเอียดให้ครบถ้วนหากต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่
- กองบรรณาธิการ วารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
- ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
เลขที่ 1771/1 สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ซอยพัฒนาการ 37-39 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 ติดต่อกับคุณพิมพ์รต พิพัฒนกุล (02) 763-2752 , คุณจุฑามาศ ประสพสันติ์ (02) 763-2600 Ext. 2402 Fax. (02) 763-2754 หรือ E-mail: JEDT@tni.ac.th
References
A. Hiranandani, “Calculation of cable ampacities including the effects of harmonics,” IEEE Industry Applications Magazine, vol. 4, no. 2, pp. 42–51, Mar. 1998.
V. E. Wagner et al., “Effects of harmonics on equipment,” IEEE Transactions on Power Delivery, vol. 8, no. 2, pp. 672–680, Apr. 1993.
R. D. Henderson and P. J. Rose, “Harmonics: the effects on power quality and transformers,” IEEE Transactions on Industry Applications, vol. 30, no. 3, pp. 528–532, May 1994.
D. E. Rice, “Adjustable Speed Drive and Power Rectifier Harmonics-Their Effect on Power Systems Components,” IEEE Transactions on Industry Applications, vol. IA-22, no. 1, pp. 161–177, Jan. 1986.
“IEEE Recommended Practice and Requirements for Harmonic Control in Electric Power Systems,” IEEE Std 519-2014 (Revision of IEEE Std 519-1992), pp. 1–29, Jun. 2014.
G. W. Chang, H.-L. Wang, and S.-Y. Chu, “Strategic placement and sizing of passive filters in a power system for controlling voltage distortion,” IEEE Transactions on Power Delivery, vol. 19, no. 3, pp. 1204–1211, Jul. 2004.
M. Rukonuzzaman and M. Nakaoka, “Single-phase shunt active power filter with harmonic detection,” IEE Proceedings - Electric Power Applications, vol. 149, no. 5, pp. 343–350, Sep. 2002.
P. K. Ray, G. Panda, and P. S. Puhan, “Fuzzy logic based intelligent Shunt Hybrid filter applied to single phase system,” in 2013 Annual IEEE India Conference (INDICON), 2013, pp. 1–6.
M. El-Habrouk, M. K. Darwish, and P. Mehta, “A survey of active filters and reactive power compensation techniques,” in 2000 Eighth International Conference on Power Electronics and Variable Speed Drives (IEE Conf. Publ. No. 475), 2000, pp. 7–12.
J. Barros and E. Perez, “An adaptive method for determining the reference compensating current in single-phase shunt active power filters,” IEEE Transactions on Power Delivery, vol. 18, no. 4, pp. 1578–1580, Oct. 2003.
V. Khadkikar, A. Chandra, and B. N. Singh, “Generalised single-phase p-q theory for active power filtering: simulation and DSP-based experimental investigation,” IET Power Electronics, vol. 2, no. 1, pp. 67–78, Jan. 2009.
B. Han, “Single-phase active power filter using FFT with harmonic phase-delay compensation,” in 2009 IEEE Power Energy Society General Meeting, 2009, pp. 1–6.
B. A. Angélico, L. B. G. Campanhol, and S. A. O. da Silva, “Proportional–integral/proportional–integralderivative tuning procedure of a single-phase shunt active power filter using Bode diagram,” IET Power Electronics, vol. 7, no. 10, pp. 2647–2659, 2014.
S. Tiyarachakun, K. Areerak, and K. Areerak, “Instantaneous Power Theory with Fourier and Optimal Predictive Controller Design for Shunt Active Power Filter,” Modelling and Simulation in Engineering, vol. 2014, pp. 1–20, Jan. 2014.