วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยปทุมธานี https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/PTUJST <p style="text-align: justify; text-justify: inter-cluster; background: white; margin: 0cm 0cm .0001pt 36.0pt;"><span lang="TH" style="font-size: 18.0pt; font-family: 'TH SarabunPSK',sans-serif;">วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยปทุมธานี มีวัตถุประสงค์ในการจัดทำเพื่อและ</span><span lang="TH" style="font-size: 18.0pt; font-family: 'TH SarabunPSK',sans-serif;">เผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ </span></p> <p>วิศวกรรมเครื่องกล&nbsp; วิศวกรรมไฟฟ้า&nbsp; วิศวกรรมอุตสาหการ&nbsp; วิศวกรรมโยธา &nbsp;วิศวกรรมคอมพิวเตอร์&nbsp;</p> <p>วิศวกรรมเรือ&nbsp; วิศวกรรมยานยนต์&nbsp; วิศวกรรมสำรวจ&nbsp; วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม&nbsp; วิศวกรรมปิโตรเลียม&nbsp;</p> <p>วิศวกรรมเคมี&nbsp; วิศวกรรมเหมืองแร่และโลหะวิทยา&nbsp; วิศวกรรมโลหการ&nbsp; วิศวกรรมการผลิต&nbsp;</p> <p>วิศวกรรมเกษตร&nbsp; วิศวกรรมระบบควบคุมและเครื่องมือวัด&nbsp; วิศวกรรมชลประทาน&nbsp; วิศวกรรมอาหาร&nbsp;</p> <p>วิศวกรรมการบินและอากาศยาน&nbsp; วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ ฯลฯ</p> <p>&nbsp;พยาบาล&nbsp; กายภาพบำบัด&nbsp; รังสีเทคนิค&nbsp; เภสัชศาสตร์&nbsp; แพทย์&nbsp; สัตวแพทย์&nbsp; ทันตแพทย์&nbsp; เทคนิคการแพทย์&nbsp;</p> <p>แพทย์แผนไทย อนามัยสิ่งแวดล้อม&nbsp; อาชีวอนามัยและความปลอดภัย บริหารสาธารณสุข&nbsp; โภชนวิทยา&nbsp;</p> <p>สุขศึกษา&nbsp;ฯลฯ</p> <p>&nbsp;วิทยาการคอมพิวเตอร์&nbsp; วิทยาศาสตร์ทั่วไป&nbsp; วิทยาศาสตร์ทางทะเล&nbsp; วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม</p> <p>วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย ฟิสิกส์&nbsp; เคมี&nbsp; ชีววิทยา&nbsp; คณิตศาสตร์&nbsp; ธรณีวิทยา&nbsp;</p> <p>พฤกษศาสตร์&nbsp; สัตววิทยา&nbsp; เทคโนโลยีทางทะเล&nbsp; วิทยาศาสตร์ทางภาพถ่าย เทคโนโลยีปิโตรเคมี</p> <p>เทคโนโลยีอาหารเทคโนโลยีชีวภาพ&nbsp; สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรศาสตร์&nbsp; เทคโนโลยีอุตสาหกรรม ฯลฯ</p> <p><span lang="TH" style="font-size: 18.0pt; font-family: 'TH SarabunPSK',sans-serif;">ที่มีคุณค่าต่อการพัฒนาประเทศ และ</span><span lang="TH" style="font-size: 18.0pt; font-family: 'TH SarabunPSK',sans-serif;">เป็นเวทีทางวิชาการให้นักวิชาการ นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป ได้นำเสนอผลงานสร้างสรรค์ทางวิชาการต่อสาธารณะ อันจะเป็นประโยชน์ในระดับชาติและนานาชาติต่อไป</span></p> th-TH <p>ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะใดๆ ที่นำเสนอในบทความเป็นของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว โดยบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ และคณะกรรมการวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยปทุมธานี ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องแต่อย่างใด มหาวิทยาลัย บรรณาธิการ และกองบรรณาธิการจะไม่รับผิดชอบต่อข้อผิดพลาดหรือผลที่เกิดจากการใช้ข้อมูลที่ปรากฏในวารสารฉบับนี้ &nbsp;</p> ptujst@ptu.ac.th (รศ.ดร.ถวัลย์ ฤกษ์งาม) kanittha.n@ptu.ac.th (ดร. นฤนาท ยืนยง) Mon, 15 Jul 2024 00:33:43 +0700 OJS 3.3.0.8 http://blogs.law.harvard.edu/tech/rss 60 ประสิทธิผลของการฝึกด้วยกระจกเงาในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ที่ได้รับการฟื้นฟูรยางค์ล่าง โรงพยาบาลสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/PTUJST/article/view/257071 <p> การศึกษานี้เป็นแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้เทคนิคกระจกบำบัดฟื้นฟูรยางค์ส่วนล่างในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาลสิชล จำนวน 30 ราย แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มทดลอง 15 ราย และกลุ่มควบคุม 15 ราย ในกลุ่มทดลองดำเนินการให้กิจกรรมด้วยกระจกเงา จำนวน 3 ท่า ได้แก่ ท่ากระดกข้อเท้าขึ้นลง ท่ากางและหุบขาท่างอเข่าและสะโพก เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ ส่วนในกลุ่มควบคุมดำเนินการให้กิจกรรมบำบัดแบบปกติตามมาตรฐานการฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามตามตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้ การรับรู้ความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองต่อความความสามารถในการเคลื่อนไหวของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและการทำกิจวัตรประจำวัน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติทีคู่ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ ผลการศึกษา พบว่า หลังการดำเนินการให้กิจกรรมฟื้นฟูสภาพร่างกายรยางค์ส่วนล่างด้วยกระจกเงามีความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p-value &lt; 0.05 ในส่วนการประเมินความสามารถในการเคลื่อนไหวของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ด้านการเคลื่อนไหวด้านล่างและการเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐานมีการเคลื่อนไหวได้ดีขึ้นหลังการฟื้นฟูด้วยกระจกเงาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p- value &lt;0.05 ในขณะที่การเคลื่อนไหวของแขนมีการเคลื่อนไหวไม่แตกต่างกันหลังการฟื้นฟู การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจึงควรมีการฟื้นฟูต่อเนื่อง ร่วมกับการดูแลผู้ป่วยที่บ้านจะสามารถให้ผู้ป่วยฟื้นฟูสภาพร่างกายได้ดีขึ้น</p> สิริภา สาระสิทธิ์ Copyright (c) 2024 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยปทุมธานี https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/PTUJST/article/view/257071 Mon, 15 Jul 2024 00:00:00 +0700 สารสกัดน้ำเบญจกูลมีผลต่อการแก่ของเซลล์ตับอ่อนในหนูอ้วนที่ได้รับอาหารไขมันสูงเป็นระยะเวลากลางๆ https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/PTUJST/article/view/255537 <p> สารสกัดน้ำเบญจกูลเป็นยาปรับธาตุที่ใช้ในการรักษาแบบพื้นบ้านในประเทศไทยเพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด อย่างไรก็ตามยังไม่เคยมีการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดน้ำเบญจกูลต่อการแก่ของเซลล์ตับอ่อนในหนูอ้วนที่ได้รับอาหารไขมันสูงเป็นระยะเวลากลางๆ การศึกษาในครั้งนี้มุ่งหวังให้ความเข้มของเอนไซม์ senescence-associated beta-galactosidase (sa-β-gal) ในเซลล์ตับอ่อนเป็นตัวชี้วัดในการศึกษาฤทธิ์ต้านชราของสารสกัดน้ำของเบญจกูล โดยใช้วิธีการทดสอบอิมมูโนฮิสโตเคมี ศึกษาในหนูขาวเพศผู้สายพันธุ์ Sprague-Dawley จำนวน 18 ตัว ที่แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 6 ตัว เมื่อเลี้ยงหนูจนครบ 16 สัปดาห์ จึงทำการทดสอบน้ำหนักตัวหนู ระดับน้ำตาลในเลือดหนูและอิมมูโนฮิสโตเคมีของ sa-β-gal ของตับอ่อนหนู ผลการศึกษาเมื่อเปรียบเทียบกับหนูกลุ่มควบคุมหรือหนูกลุ่มที่ได้รับอาหารหนูปกติ พบว่าหนูกลุ่มที่ได้รับอาหารไขมันสูงร่วมกับสารสกัดน้ำของเบญจกูลขนาดต่ำ (41.3 มก./น้ำหนักหนู 1 กก.) มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ระดับน้ำตาลในเลือดและการติดสีของ sa-β-gal มีแนวโน้มที่จะลดลง แต่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนเมื่อเปรียบเทียบกับหนูกลุ่มที่ได้รับอาหารไขมันสูงอย่างเดียว พบว่าหนูกลุ่มที่ได้รับอาหารไขมันสูงร่วมกับสารสกัดน้ำของเบญจกูลขนาดต่ำ (41.3 มก./น้ำหนักหนู 1 กก.) มีน้ำหนักตัว ระดับน้ำตาลในเลือดและการติดสีของ sa-β-gal ของตับอ่อนมีแนวโน้มที่จะลดลง แต่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปได้ว่าสารสกัดน้ำของเบญจกูลขนาดต่ำ (41.3 มก./น้ำหนักหนู 1 กก.) มีแนวโน้มที่จะช่วยลดน้ำหนัก แต่ไม่สามารถช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดและลดการชราภาพของตับอ่อนในหนูที่ได้รับอาหารไขมันสูงเป็นระยะเวลากลางๆ (15 สัปดาห์) โดยไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.182) และ (p = 0.139) ตามลำดับ</p> KEVALIN VONGTHOUNG Copyright (c) 2024 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยปทุมธานี https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/PTUJST/article/view/255537 Mon, 15 Jul 2024 00:00:00 +0700 บทบรรณาธิการ https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/PTUJST/article/view/257540 <p>วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยปทุมธานี เล่มนี้เป็นฉบับที่ 1 ปีที่ 5 ประจำเดือน</p> <p>มกราคม - มิถุนายน 2567 ในฉบับนี้มีบทความวิจัย 2 เรื่องและบทความวิชาการ 2 เรื่อง โดยบทความวิจัยเรื่องแรกเป็นเรื่องทางกิจกรรมบำบัดจาดคุณสิริภา สาระสิทธิ์ จากโรงพยาบาลสิชล ได้แก่เรื่อง<strong>ประสิทธิผลของการฝึกด้วยกระจกเงาในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ได้ รับการฟื้นฟูรยางค์ล่าง โรงพยาบาลสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช</strong><strong>&nbsp; </strong>เรื่องที่ 2 เป็นเรื่อง<strong> การศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดน้ำเบญจกูลต่อการแก่ของเซลล์ตับอ่อนในหนูอ้วนที่ได้รับอาหารไขมันสูงเป็นระยะเวลากลางๆ </strong>โดย อ.ดร.เกวลิน จากสาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ส่วนบทความวิชาการเรื่องแรก <strong>Gut Prebiotic and Probiotic in Skin Aging: Mini Review on Mechanism of Action Aging Delay</strong> จาก อ.ดร.สาธิต เอี่ยมจวงจันทร์ จากสาขาวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานและวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยปทุมธานี เรื่องที่ 2 เป็นเรื่อง<em> <strong>&nbsp;</strong></em><strong>Anti-<em>Cutibacterium acnes </em>properties of <em>Cannabis sativa</em></strong> จากสาขาเทคนิคการแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยปทุมธานี หวังว่าบทความวิจัยทั้ง 2 เรื่องและบทความวิชาการอีก 2 เรื่อง คงประโยชน์ให้แก่ผู้สนใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การแพทย์และเทคนิคการแพทย์ได้เป็นอย่างดี</p> <p>&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ในโอกาสนี้ขอเรียนเชิญชวนนักวิจัย นักวิชาการและอาจารย์จากสถาบันต่างๆ ได้ส่งบทความวิจัยและบทความวิชาการเพื่อมาลงตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยปทุมธานีในฉบับที่ 2 ปีที่ 5 เดือน กรกฎาคม- ธันวาคม 2567 โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ</p> ถวัลย์ ฤกษ์งาม Copyright (c) 2024 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยปทุมธานี https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/PTUJST/article/view/257540 Mon, 15 Jul 2024 00:00:00 +0700 Gut Prebiotic and Probiotic in Skin Aging: Mini Review on Mechanism of Action Aging Delay https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/PTUJST/article/view/255516 <p>The relationship between probiotics and prebiotics and their potential impact on skin aging is a captivating subject that bridges the realms of gut health and skin wellness. Prebiotics, non-digestible fibres that nourish probiotics, live microorganisms that confer health benefits when consumed, have garnered attention for their potential to mitigate the effects of skin aging. This review delves into the intricate interplay between prebiotics and probiotics in gastrointestinal tract, shedding light on their mechanisms and potential applications in promoting youthful and resilient skin. The gut probiotics contributes to enhanced gut barrier function and bolstered immune responses. The resultant systemic effects manifest in skin health, with reduced inflammation and improved antioxidant defenses influencing the aging process. As well prebiotics, by selectively nurturing beneficial gut bacteria, foster a balanced gut microbiome, influencing systemic processes such as inflammation regulation, immune response modulation, and nutrient metabolism. The harmonious gut-skin axis emerges as a conduit through which prebiotics orchestrate their effects on skin aging.</p> Sathid Aimjongjun Copyright (c) 2024 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยปทุมธานี https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/PTUJST/article/view/255516 Mon, 15 Jul 2024 00:00:00 +0700 Anti Cutibacterium acnes properties from Cannabis sativa https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/PTUJST/article/view/256976 <p>The antimicrobial potential of various cannabis compounds against <em>Cutibacterium acnes</em> <br />(<em>C. acnes</em>) remains a subject of significant interest in dermatological research. This review aims to elucidate the mechanisms underlying the antibacterial activity of major cannabis compounds, including cannabidiolic acid (CBDA), cannabidiol (CBD), cannabinodiol (CBND), tetrahydrocannabinolic acid (THCA), Δ9-trans-tetrahydrocannabinol (Δ9-THC), Δ8-trans-tetrahydrocannabinol (Δ8-THC), cannabigerol (CBG), and cannabigerolic acid (CBGA). Many cannabis compounds showed antibacterial activity against several Gram-positive bacteria, including <em>Staphylococcus aureus</em> (<em>S. aureus</em>), <em>Staphylococcus epidermidis</em> (<em>S. epidermidis</em>), methicillin-resistant <em>S. aureus</em> (MRSA), and <em>C. acnes</em>, by acting as detergents and permeabilizing bacterial cell membranes by disrupting bacterial biofilms and membrane integrity. Some compounds, such as THCA, the precursor to THC, and THC derivatives, have shown inhibitory effects against staphylococci and streptococci bacteria, but their specific impact on <em>C. acnes</em> requires further investigation. In conclusion, while several cannabis compounds show promising antibacterial activity against various pathogens, including <em>C. acnes</em>, further research</p> <p>is warranted to elucidate their precise mechanisms of action and therapeutic potential in dermatological applications. These findings underscore the importance of investigating cannabis-derived compounds as potential agents for combating bacterial infections, including those affecting the skin. These findings underscore the importance of investigating cannabis-derived compounds as potential agents for combating bacterial infections, including those affecting the skin.</p> <p> </p> Jeerapar Noiseeluang Copyright (c) 2024 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยปทุมธานี https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/PTUJST/article/view/256976 Mon, 15 Jul 2024 00:00:00 +0700