https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JSISD/issue/feed
วารสารนวัตกรรมวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
2024-11-29T13:41:38+07:00
Assistant Professor Dr.Siriluck Lorpunmanee
jsisd@dusit.ac.th
Open Journal Systems
<h2>รายละเอียดวารสาร</h2> <p>วารสารนวัตกรรมวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นวารสารวิชาการที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในลักษณะนิพนธ์ต้นฉบับ (Original Article) นิพนธ์ปริทัศน์ (Review Article) และบทวิจารณ์หนังสือ (Book Review) เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม, อาชีวอนามัยและความปลอดภัย, วิทยาศาสตร์กายภาพและชีวภาพ, วิทยาการคอมพิวเตอร์ และสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการแนะนำหนังสือที่น่าสนใจทางด้านนวัตกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กำหนดพิมพ์เผยแพร่ปีละ 1 ฉบับ (ประจำเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม) From 2022, Journal of Science Innovation for Sustainable Development will consider articles on two issues. ทั้งนี้ต้นฉบับที่เสนอขอลงตีพิมพ์ จะต้องไม่เคยหรือไม่อยู่ระหว่างเสนอขอตีพิมพ์ในวารสารฉบับอื่น และบทความดังกล่าวจะต้องเข้ารับการพิจารณาให้ความเห็น และตรวจแก้ไขทางวิชาการจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) ของวารสารนวัตกรรมวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน จำนวนอย่างน้อย 3 ท่านต่อบทความก่อนลงตีพิมพ์</p> <p> </p> <p><strong>Zero tolerance policy with plagiarism</strong></p> <ul> <li>Journal of Science Innovation for Sustainable Development has an originality and a zero tolerance plagiarism policy.</li> <li>We check the submissions by using two methods such as plagiarism prevention tools and reviewer checks.</li> <li>All submissions will be checked by copycatch all in ThaiJo 2.0 and iThenticate plagiarism prevention software before being sent to reviewers.</li> </ul> <p> </p> <p>© 2019–2023 Suandusit University</p>
https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JSISD/article/view/256528
Evaluations of Effectiveness for Beverage Packaging Waste Sorting Using Huskylens Based on AI Machine Vision
2024-05-07T12:36:38+07:00
สุทธิพงษ์ คล่องดี
suttipong_kl@rmutto.ac.th
<p>Waste is a significant issue of which people worldwide should be aware, and excessive waste in Thailand continues to persist. This leads to environmental challenges. Thailand produces 27–28 million tons of solid waste per year. Therefore, waste separation is an important factor in mitigating these problems. Beverage packaging waste management has the opportunity to greatly reduce pollution in the environment. This research has developed a waste sorting machine that uses IoT technology, consisting of an Arduino Uno WiFi, Huskeylens, and other devices. The beverage packaging waste was categorized into three distinct groups: plastic bottles, glass bottles, and cans. There are a total of 30 samples. The findings demonstrate that the garbage sorter has the capacity to precisely identify the dataset. The Line application can efficiently and precisely inform consumers about the status of garbage pickup. The system's optimal operational distance is 30 cm, ensuring maximum efficiency between the Huskylens and the object at a luminance level of 305 lux. Furthermore, it can aid in the efficient categorization of recyclable waste and promote the reduction of environmental pollution. Furthermore, it can facilitate the effective classification of recyclable garbage and encourage the reduction of environmental contamination.</p>
2024-11-26T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JSISD/article/view/256119
ระบบและกลไกสนับสนุนการเตรียมความพร้อมเพื่อการตรวจรับรองมาตรฐานการเกษตรสำหรับเกษตรกรในจังหวัดสุพรรณบุรี
2024-04-02T22:43:26+07:00
แทนทัศน์ เพียกขุนทด
tantus.aek@gmail.com
<p>การวิจัยครั้งนี้เป็นการสร้างระบบและกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพส่งเสริมกระบวนการมาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยในกลุ่มประมง พืช และปศุสัตว์ โดยการประเมินศักยภาพของเกษตรกรและจัดทำกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ผลการศึกษา พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่เคยเข้าอบรมเกี่ยวกับการปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) เนื่องด้วยขาดความรู้ ความเข้าใจและไม่ทราบถึงข้อดี/ผลประโยชน์ที่จะได้รับ รวมถึงเกษตรกรไม่ให้ความสำคัญต่อการผลิตสินค้าตามมาตรฐาน GAP เพราะไม่พบช่องทางในการจำหน่ายสินค้าที่ให้ราคาผลผลิตสูงขึ้น จากการประเมินศักยภาพฯ คณะผู้วิจัยได้เพิ่มขั้นตอนจากระบบและกลไกเดิม 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและขั้นตอนการส่งเสริมด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์ช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าโดยทำงานประสานงานกับเจ้าหน้าที่การเกษตรระดับอำเภอและจังหวัด ผลจากขั้นตอนการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับ GAP พบว่า ร้อยละ 86 ของเกษตรกรได้มีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์และเห็นถึงความสำคัญของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยมากขึ้นพร้อมที่จะนำความรู้และหลักการไปปรับใช้ในกระบวนการทางการเกษตร รวมทั้งเตรียมตัวสู่การรับรองมาตรฐานฯต่อไป ผลจากขั้นตอนส่งเสริมด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์ช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าปลอดภัย พบว่า เกษตรกรได้รับความรู้เกี่ยวกับช่องทางการจัดจำหน่ายมากขึ้นคิดเป็นร้อยละ 82 และทราบถึงวิธีการปรับใช้กับการขายสินค้าเพื่อให้ได้ราคาหรือผลกำไรที่สูงขึ้นได้ เป็นการเชื่อมช่องว่างในด้านความรู้และความเข้าใจในหมู่เกษตรกรช่วยให้ยอมรับการปฏิบัติทางการเกษตรที่ปลอดภัยและมีช่องทางการจัดจําหน่ายที่มากขึ้น สิ่งนี้มีส่วนช่วยในเป้าหมายโดยรวมในการเพิ่มประสิทธิภาพและส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยในภาคประมงพืชและปศุสัตว์</p>
2024-12-17T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JSISD/article/view/256720
การจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามความจำเป็น ทางด้านวิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน
2024-11-29T13:41:38+07:00
Supaporn Tungdamnernsawad
tn_tm@hotmail.com
<p>โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ตรวจประเมินความสอดคล้องมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศเทียบกับมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2022 และการตรวจสอบช่องโหว่ทางเทคนิคของระบบปฏิบัติการและโปรแกรมแอพพลิเคชั่น บริษัท A และ2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบ โดยมีวิธีการศึกษา 10 ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย OpenVAS และแบบประเมินความพึงพอใจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือกลุ่มผู้ดูแลระบบ จำนวน 3 คน ได้มาด้วยวิธีการแบบเจาะจง ผลการศึกษาพบว่า ตอบวัตถุประสงค์ที่ 1 และผลจากการประเมินความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับดี ได้ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.33 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.57</p>
2024-12-17T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JSISD/article/view/252363
การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์สมุนไพรแบบครบวงจร บ้านนาตัง อำเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
2023-04-20T11:34:09+07:00
watakarn moonchaisook
watakarn.mo@rmuti.ac.th
<p>การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์สมุนไพรแบบครบวงจร บ้านนาตัง อำเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาองค์ความรู้การ ปลูกสมุนไพร พัฒนาชุดเครื่องบดสมุนไพรและพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาด ให้กับกลุ่มปลูกสมุนไพรบ้านนาตัง การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ คือการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตและกิจกรรมการพัฒนา โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน</p> <p>ผลการศึกษา พบว่าเกษตรกรกลุ่มปลูกสมุนไพรบ้านนาตัง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณภาพดินที่เหมาะสมกับการปลูกพืช สามารถปรับปรุงคุณภาพดินในเบื้องต้นได้และมีความสนใจผลิตดินปลูกใช้เอง เนื่องจากมีส่วนช่วยในการ เพิ่มธาตุอาหารในดิน มีเครื่องมือและอุปกรณ์ที่พัฒนาขึ้น คือชุดเครื่องบดสมุนไพร โดยเป็นเครื่องบดที่ควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าพร้อมตู้ควบคุมการทำงาน ซึ่งเป็นนวัตกรรมพร้อมใช้มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูป นอกจากนี้ยังมีความรู้ ความเข้าใจกลยุทธ์ทางการตลาดรวมทั้งการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์โดยสามารถสร้างเพจเฟชบุ๊กและร่วมกันตั้งชื่อว่า “บุลาเฮิร์บ” เพื่อเป็นช่องทาง การประชาสัมพันธ์และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม ซึ่งจะทำให้มีรายได้มากขึ้น และคาดว่าจะช่วยเพิ่มพื้นที่ปลูกสมุนไพรและเพิ่มความหลากชนิดของสมุนไพรเพื่อทำให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งและยั่งยืนต่อไปในอนาคต</p>
2024-12-17T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JSISD/article/view/259898
Understanding Deep Learning
2024-11-28T13:42:40+07:00
Chawalsak Phetchanchai
chawalsak@outlook.com
<p>-</p>
2024-12-17T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต