Effect for Jitter Noise with NPML Detector in Perpendicular Recording Channels

Main Article Content

ณัฏฐนันท์ ภัทรสวัณต์

Abstract

Jitter noise was the noise that is intrinsic to the data. Due to the location of the transition process in writing. This is not a general effect on the circuit. Generally, magnetic recording channel detectors has reading signal of transition position and suffer from jitter noise. In general, a partial-response maximum-likelihood (PRML) detector works reliably well when a magnetic recording channel experienced additive white Gaussian noise (AWGN). At ultra high recording densities, the recording channel will face with both colored noise and jitter noise. Thus, lowering the performance of the PRML detector. Therefore, in this case, the PRML detector has been replaced by a noise-predictive maximum-likelihood (NPML) detector. it is well-known that NPML detector embeds the noise predictor in the PRML detector has been proposed to combat the colored noise. Nonetheless, the conventional NPML detector cannot combat the jitter noise. As a result, this paper presents a method of designing a new NPML detector that can deal with the jitter noise. Simulations show that the new NPML detector performs better than the conventional NPML detector, especially at high media jitter noise levels and high signal-to-noise ratio (SNR).

 

ผลกระทบของสัญญาณรบกวนแบบจิตเตอร์ที่มีต่อวงจรตรวจหา NPML ในช่องสัญญาณการบันทึกแบบแนวตั้ง

สัญญาณรบกวนแบบจิตเตอร์เป็นสัญญาณรบกวนใดๆที่แฝงมากับข้อมูลข่าวสาร ที่มีลักษณะเลื่อนไปของสัญญาณ เกิดขึ้นจากการเลื่อนตำแหน่งของการเปลี่ยนสถานะในกระบวนการเขียนข้อมูล ซึ่งไม่เป็นผลดีต่อวงจรทั่วไปโดยปกติสัญญาณในวงจรตรวจหาของช่องสัญญาณการบันทึกเชิงแม่เหล็กมีการอ่านค่าสัญญาณจากการเปลี่ยนสถานะและต้องเผชิญกับสัญญาณรบกวนแบบจิตเตอร์ วงจรตรวจหา PRML ทำงานได้ดีเมื่อช่องสัญญาณการบันทึกเชิงแม่เหล็กเผชิญกับสัญญาณรบกวนเกาส์สีขาวแบบบวก เมื่อความจุข้อมูลสูงขึ้น ระบบการบันทึกข้อมูลจะเผชิญกับสัญญาณรบกวนแบบสี รวมทั้งสัญญาณรบกวนแบบจิตเตอร์ มากขึ้นซึ่งส่งผลให้วงจรตรวจหา PRML มีประสิทธิภาพด้อยลง ดังนั้นวงจรตรวจหา NPML จึงได้ถูกนำมาใช้แทนวงจรตรวจหา PRML เป็นที่ทราบว่าวงจร NPML เป็นวงจรที่มีการนำเอาวงจรกรองทำนายแฝงเข้าไปในวงจร PRML เพื่อจัดการกับสัญญาณรบกวนแบบสี แต่อย่างไรก็ตามวงจรตรวจหา NPML ที่ใช้กันทั่วไปไม่สามารถจัดการกับสัญญาณรบกวนแบบจิตเตอร์ บทความนี้จะนำเสนอวิธีการออกแบบวงจรตรวจหา NPML แบบใหม่ที่สามารถจัดการกับสัญญาณรบกวนแบบจิตเตอร์ได้จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าวงจรตรวจหา NPML แบบใหม่นี้มีประสิทธิภาพที่ดีกว่าวงจรตรวจหา NPML แบบที่ใช้กันทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่สัญญาณรบกวนแบบจิตเตอร์มีความรุนแรงสูง และค่าอัตราส่วนกำลังงานของสัญญาณและกำลังงานของสัญญาณรบกวนสูง

Article Details

Section
ACTIS Article