Investigation of the Support Factors to Blended Learning Courses: The Learners Perspectives

Main Article Content

Pradit Songsangyos
Arkhom Songkroh

Abstract

The study of Parra J. L. (2013) mentioned that blended learning courses have an average achievement higher than teaching and learning in the classroom only or online learning alone. If a university tends to adopt blended learning courses to compete with other universities. Before the implementation of the blended learning, the investigation of the support factors to blended learning courses should be conducted. The population in this study were undergraduate students of the Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi in the first semester of the academic year 2015. The multi-stages sampling was obtained. So the population is divided into groups that are assigned by the faculties. Then the purposive sampling was obtained to faculty of business administration and information technology, and faculty of science and technology. Next a simple random sampling was obtained. The research instrument was the questionnaire, and it consists of both closed-ended, and open-ended questions. Besides, an in-depth interview was conducted with the students, for exploration of their ideas, recommendations, and comments. From open-ended questions and interviews, learners were concluded as follows. The university should be support them by the training to an improvement of their computer and Internet usage, and English language skill. The computer network infrastructure in the university, the difficulty of the course contents and the suitable online learning usage time should be concerned.

 

จากงานวิจัยของ Parra J. L. (2013) พบว่าหลักสูตร เรียนรู้แบบผสมผสานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เฉลี่ยสูงกว่า การเรียนการสอนในห้องเรียนหรือการเรียนรู้ออนไลน์เท่านั้น หากมหาวิทยาลัยมีแนวโน้มที่จะนำหลักสูตรการเรียนรู้แบบ ผสมผสานมาใช้ในเพื่อแข่งขันกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ก่อนการ ดำเนินการควรทำการสำรวจปัจจัยที่สนับสนุนการเรียนรู้แบบ ผสมผสาน ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือ นักศึกษาระดับ ปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิใน ภาคการศึกษาแรกของปีการศึกษา 2015 ประชากรจะถูกแบ่ง ออกเป็นกลุ่มตามคณะ โดยสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงกับคณะ บริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศและคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จากนั้นทำการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามซึ่งประกอบด้วยคำถามแบบ ปลายปิดและแบบปลายเปิด และมีการดำเนินการสัมภาษณ์ใน เชิงลึกกับนักศึกษาเพื่อสำรวจความคิด คำแนะนำและความ คิดเห็นของผู้เรียน มีผู้ตอบกลับแบบสอบถามจำนวน 276 ราย จากคำถามปลายเปิดและการสัมภาษณ์ผู้เรียนได้ข้อสรุปดังนี้ มหาวิทยาลัยควรสนับสนุนพวกเขาโดยการฝึกอบรมเพื่อการ พัฒนาในด้านคอมพิวเตอร์และการใช้งานอินเทอร์เน็ตตลอดจน ทักษะภาษาอังกฤษโครงสร้างพื้นฐานด้านเครือข่าย คอมพิวเตอร์ในมหาวิทยาลัย ความยากของเนื้อหาการเรียนการ สอนและเวลาการใช้งานสำหรับการเรียนรู้แบบออนไลน์ที่เหมาะสมเป็นสิ่งที่ควรได้รับการพิจารณา

Article Details

Section
ACTIS Article