The Entering International Occupation Management Model Using Business Intelligence System
Main Article Content
Abstract
The objective of the research study was to develop a model of management using business intelligence system for entering international occupation of Rajamangala University of Technology (RMUT) students. The study was divided into two phases. 1) development of the management model 2) evaluation of the appropriateness of the model. The research instruments were the developed model and the evaluation form of entering the international occupation for the RMUT students, and the questionnaire for the experts to evaluate the appropriateness of the model. The samples were comprised of twelve experts selected by the purposive sampling method. The research result found that the management model using the business intelligence system was consisted of three parts. The first part is the data sources, which includes English Competencies, ICT competencies, and Occupational Competencies in the fields students studying which affects the enter to students’ international occupation. The second part is the business intelligence process. The third part is the display of the reports and the tenor presented to the RMUT executive. The evaluation result of appropriateness of the management model by the specialists is averagely in high level ( = 4.48, S.D.= .21).
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการการก้าวสู่อาชีพอย่างสากลโดยใช้ระบบธุรกิจอัจฉริยะสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิธีดำเนินงานวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ 1) การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการการเข้าสู่อาชีพอย่างสากลโดยใช้ระบบธุรกิจอัจฉริยะ และ 2) การประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยรูปแบบการบริหารจัดการการก้าวสู่อาชีพอย่างสากลโดยใช้ระบบธุรกิจอัจฉริยะ และแบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้เชี่ยวชาญจำนวน 12 คน ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบของรูปแบบการบริหารจัดการด้วยระบบธุรกิจอัจฉริยะประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นการกำหนดแหล่งข้อมูลเป็นส่วนของข้อมูลหลักในการนำเข้าสู่ระบบธุรกิจอัจฉริยะ ซึ่งได้แก่ข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกับ สมรรถนะด้านภาษาอังกฤษ สมรรถนะด้านไอซีที และสมรรถนะด้านวิชาชีพในสาขาวิชาที่ศึกษา ซึ่งส่งผลต่อการก้าวสู่อาชีพอย่างสากลของนักศึกษา ส่วนที่ 2 เป็นส่วนของกระบวนการระบบธุรกิจอัจฉริยะ และส่วนสุดท้ายเป็นส่วนของการนำเสนอรายงานแนวโน้มต่างๆ จากกระบวนการของระบบธุรกิจอัจฉริยะนำเสนอต่อผู้บริหารของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล โดยผู้เชี่ยวชาญประเมินรับรองว่ารูปแบบที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมในระดับมาก ( = 4.48, S.D.= .21)
Article Details
It is the policy of ACTISNU to own the copyright to the published contributions on behalf of the interests of ACTISNU, its authors, and their employers, and to facilitate the appropriate reuse of this material by others. To comply with the Copyright Law, authors are required to sign an ACTISNU copyright transfer form before publication. This form, a copy of which appears in this journal (or website), returns to authors and their employers full rights to reuse their material for their own purposes.