The Design of a Prototype of Collaborative Learning for Creative Thinking of Junior Programmer

Main Article Content

Kittisak Singsungnoen
Pallop Piriyasurawong

Abstract

The purposes of this study was to design of a prototype collaborative learning for creative thinking of junior programmer. The research methodology is divided into 2 phases: Phase 1: the design process. The researcher have design of a prototype collaborative learning for creative thinking of junior programmer. Phase 2: the evaluation process. The evaluation of suitability for a prototype collaborative learning for creative thinking of junior programmer by 6 experts. The research tool is evaluation form of suitability for prototype collaborative learning for creative thinking of junior programmer. The result is a prototype collaborative learning for creative thinking of junior programmer with 4 components as follows: 1) Input 2) Instructional process 3) Evaluate and 4) Feedback. The evaluation of suitability for a prototype collaborative learning for junior programmer creative thinking have 6 aspects include 1)Principles and Concepts, 2) Objectives, 3) Input, 4) Instructional process, 5) Evaluate and 6) Feedback. By Objectives aspect has at high level ( \inline \dpi{80} \bar{X} = 4.29, S.D. = 0.49).

 

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบต้นแบบ การเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับ โปรแกรมเมอร์มือใหม่ วิธีการดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การออกแบบกระบวนการดำเนินการของ ต้นแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำหรับโปรแกรมเมอร์มือใหม่ขั้นตอนที่ 2 การประเมินผลความ เหมาะสมของต้นแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อพัฒนาความคิด สร้างสรรค์สำหรับโปรแกรมเมอร์มือใหม่ โดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 6 ท่าน เครื่องมือในการวิจัยคือ แบบประเมินความเหมะ สมของต้นแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อพัฒนาความคิด สร้างสรรค์สำหรับโปรแกรมเมอร์มือใหม่ ผลการวิจัย ต้นแบบ การเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับ โปรแกรมเมอร์มือใหม่ ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบคือ 1) ปัจจัยนำเข้า 2) กระบวนการเรียนรู้ 3) การประเมินผล และ 4)ผล ป้อนกลับ ผลการประเมินความเหมาะสมของต้นแบบการเรียนรู้ แบบร่วมมือเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับ โปรแกรมเมอร์มือใหม่ ประกอบด้วย 6 ด้าน คือ 1) หลักการและแนวคิด 2) วัตถุประสงค์ 3) ปัจจัยนำเข้า 4) กระบวนการ 5) ผลผลิต และ 6) ผลป้อนกลับ โดยผลการประเมินด้านวัตถุประสงค์มีค่าอยู่ในระดับมาก ( \inline \dpi{80} \bar{X} = 4.29, S.D. = 0.49)

Article Details

Section
ACTIS Article