The Wisdom Cultural Heritage Information Systems of Suphan Buri

Main Article Content

Luxsanan Ploywattanawong

Abstract

This research proposed the development of the Wisdom Cultural Heritage Information Systems of Suphanburi and finds the users’ satisfaction of the system. The population in the research are the people and tourists in Suphanburi province. The samples of the research are the tourists in Suphanburi. The research was taken place in National Museum of Suphanburi.

The approach we use to perform the research is integration of information technology, computer network to apply and develop the arts and cultures of the country. The system was created under the operational framework that converts the information into a digital form. The information was taken from many sources including interviews. As the result, the system can reduce the work process and perpetually conserve the information. After deployment of the system, the user satisfaction was surveyed. The result showed that the users were satisfied with the system in an excellent level.

 

งานวิจัยนี้นำเสนอการพัฒนาระบบระบบฐานข้อมูลสารสนเทศมรดกภูมิปัญญาวัฒนธรรมท้องถิ่น จังหวัดสุพรรณบุรี (WIS) และหาความพึงพอใจของผู้ใช้ต่อการใช้งานระบบประชากรในการวิจัยเป็นประชากร และนักท่องเที่ยวในจังหวัดสุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือกลุ่มนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเที่ยวในสุพรรณบุรี สถานที่ที่ใช้ในการศึกษาวิจัยคือ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ จังหวัดสุพรรณบุรี

ซึ่งผู้วิจัยได้ทาการพัฒนางานวิจัยในรูปแบบบูรณาการ โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาด้านศิลปวัฒนธรรมของประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบ ภายใต้กรอบการดำเนินการเพื่อจัดเก็บข้อมูล ภายในพิพิธภัณฑ์ให้อยู่ในรูปแบบดิจิตอล สนับสนุนการสร้างองค์ความรู้มรดกภูมิปัญญา วัฒนธรรมท้องถิ่นที่กำลังจะสูญหายให้คงอยู่ตลอดไป ด้วยการสำรวจสอบถามและสัมภาษณ์ถ่ายทำองค์ความรู้ด้านผ้าทอท้องถิ่นในรูปแบบวีดีทัศน์ และหาความพึงพอใจของผู้ใช้ต่อการใช้งานระบบพบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูงมาก ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ โดยระบบสามารถสนับสนุนการจัดการ ซึ่งงานวิจัยนี้จะนำไปใช้งานกับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัดสุพรรณบุรี นอกจากนั้นยังช่วยลดภาระในการจัดเก็บ ข้อมูล เผยแพร่องค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประชาสัมพันธ์ศิลปวัฒนธรรมชาติ และเป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างยั่งยืน

Article Details

Section
ACTIS Article