The Development of Occupational Competency Analytical Standard Model using Prototyping Functional Analysis (FPA)
Main Article Content
Abstract
This purposes of this research were 1) to develop a Prototyping Functional Analysis (PFA) model to analyze the occupational competencies 2) use the PFA model to develop of occupational logistics standard in logistics procurement and 3) to evaluate the occupational standard which developed by the PFA model. This research methodology is research and development (R&D) which perform in the approach level, implementation level and evaluation level. This research began to develop the occupational competency analyzes model using PFA approach, and then, quality verification the PFA model with multiple focused group discussion (FGD) by entrepreneur and expertise in order to develop the occupational logistics standard in procurement. The final, to evaluate the occupational standard with public presentation for endorsing of analysis by 67 samples purposive sampling.
The quality of models by experts in the higher threshold. The indexes have index of item objective congruence: (IOC ranged between 0.83 - 1.00). The appropriateness of the model is very good. The result of evaluation an occupational standard in logistics procurement by public hearing seminar was very good. The results of research found that the occupational standard in logistics procurement consists 3 Key Functions (KF) 10 Units of Competence (UoCs) 36 Elements of Competence (EoCs) 90 Performances Criteria (PCs) and covered 3-4-5-6 tier of professional qualification.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแบบจำลอง การวิเคราะห์สมรรถนะอาชีพโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ฟังก์ชันด้วยวิธีต้นแบบ 2) นำแบบจำลองที่ได้ไปพัฒนา มาตรฐานอาชีพโลจิสติกส์สาขาอาชีพจัดซื้อ 3) ประเมินผล มาตรฐานอาชีพที่ได้ แบบแผนการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและ พัฒนา เป็นการวิจัยทั้งในระดับแนวคิด ระดับการนำไปใช้ และ ระดับประเมินค่า วิธีการวิจัยเริ่มจากพัฒนาแบบจาลองการ วิเคราะห์สมรรถนะอาชีพโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ฟังก์ชัน ด้วยวิธีต้นแบบ จากนั้นนำแบบจำลองที่ได้ไปประเมินคุณภาพ โดยผู้เชี่ยวชาญ นำแบบจาลองที่ผ่านการประเมินคุณภาพไป วิเคราะห์สมรรถนะอาชีพโดยใช้วิธีการระดมความเห็นจาก ผู้ประกอบการและผู้เชี่ยวชาญหลายครั้งเพื่อพัฒนามาตรฐาน อาชีพโลจิสติกส์สาขาอาชีพจัดซื้อ และสุดท้าย ประเมินผล มาตรฐานอาชีพที่ได้โดยใช้วิธีประชาพิเคราะห์จากกลุ่มตัวอย่าง จานวน 67 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีเจาะจง (Purposive Sampling) ผลการหาคุณภาพของแบบจำลองโดยผู้เชี่ยวชาญอยู่ ในระดับสูงกว่าเกณฑ์ โดยมีค่าดัชนีความสอดคล้องมีค่า ระหว่าง 0.83 ถึง 1.00 ส่วนความเหมาะสมของแบบจำลองอยู่ใน ระดับดีมาก ผลการประเมินมาตรฐานอาชีพโลจิสติกส์สาขา อาชีพจัดซื้อจากผู้เข้าร่วมสัมมนาประชาพิเคราะห์ มีความ คิดเห็นในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ผลการวิจัยพบว่า มาตรฐานอาชีพโลจิสติกส์สาขาอาชีพจัดซื้อ ประกอบด้วย หน้าที่หลัก จำนวน 3 หน้าที่ สมรรถนะอาชีพจำนวน 10 หน่วย สมรรถนะ สมรรถนะย่อยจานวน 36 หน่วยย่อย 90 เกณฑ์ปฏิบัติงาน และครอบคลุมคุณวุฒิวิชาชีพชั้น 3-4-5-6
Article Details
It is the policy of ACTISNU to own the copyright to the published contributions on behalf of the interests of ACTISNU, its authors, and their employers, and to facilitate the appropriate reuse of this material by others. To comply with the Copyright Law, authors are required to sign an ACTISNU copyright transfer form before publication. This form, a copy of which appears in this journal (or website), returns to authors and their employers full rights to reuse their material for their own purposes.