Education Achievement by Social Network Case Study Introduction Database Subject

Main Article Content

Kobthong Ladkoom

Abstract

The purpose of this research were 1) To using the social network Facebook in every lesson in Introduction Database 2) To examine the difference of the achievement in Introduction Database used by the experimental group and control group. The sample grouped was 76 students who studied Introduction Database in the first semester in academic year 2011. The research instruments included the used of social network Facebook. The statistic devices used for data analysis were mean, percentage, standard deviation and t-test.

The results showed that 1) The students’ learning achievement in control group and experimental group were not different at 0.05 level of statistical difference and it was not conducive to the set-up hypothesis. 2) The achievement of the experiment group was higher than the control group (88%) and it was conducive to the set-up hypothesis.

 

การวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้เครือข่ายสังคม รายวิชาฐานข้อมูลเบื้องต้น มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้เครือข่ายสังคมเฟสบุ๊ค และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างกลุ่มที่ใช้เครือข่ายสังคมเฟสบุ๊ค (กลุ่มทดลอง) และไม่ใช้เครือข่ายสังคมเฟสบุ๊ค (กลุ่มควบคุม) โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน จำนวนรวม 76 คน

นวัตกรรมที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ การใช้เครือข่ายสังคมเฟสบุ๊ค เพื่อทำการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ระหว่างนักศึกษา แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มหนึ่ง จำนวน 36 คน (กลุ่มทดลอง) โดยใช้เครือข่ายสังคมเฟสบุ๊คในการทบทวนความรู้ ส่วนอีกกลุ่มหนึ่ง จำนวน 40 คน (กลุ่มควบคุม) ไม่ใช้เครือข่ายสังคมเฟสบุ๊คแต่ให้ทบทวนความรู้ด้วยตนเอง ภายใต้ระยะเวลาที่กำหนด นอกจากนี้ยังกำหนดให้ทดสอบวัดความรู้ด้วยแบบทดสอบวัดความรู้ ทั้งก่อนและหลังเรียน ทดลองทั้ง 2 กลุ่ม โดยแบบทดสอบได้ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ 3 คน แบบทดสอบมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับเนื้อหาดีมาก

ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้เครือข่ายสังคมเฟสบุ๊ค และไม่ใช้โดยใช้เครือข่ายสังคมเฟสบุ๊ค แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนักศึกษาส่วนใหญ่ในกลุ่มที่ใช้เครือข่ายสังคมเฟสบุ๊ค มากกว่าร้อยละ 88.88 มีผลการทดสอบผ่านเกณฑ์ที่กาหนดไว้ (50%) ซึ่งเป็นไปตามสมติฐานที่ตั้งไว้

Article Details

Section
ACTIS Article