Extendable Bits of Digital On/Off Signal Controlling Using Multi-Platform Clients via Web Services to Single Arduino Output Port by Using SIPO Shift Registers.

Main Article Content

Kayun Chantarasathaporn
Sudasawan Ngammongkolwong
Songpol Nakarateruangsuk
Chom Kimpan

Abstract

Several decades ago, digital signal has been embraced to the industry for monitoring and controlling various systems. In the past, to handle these jobs, the processes were rather complicated. However, after having microcontroller, these tasks were easier. It has been even much easier to learn this issue after the launch of Arduino which is an instance open microcontroller board.

However, Arduino has some limitation in the number of digital input and output port. This project tries to overcome this constraint by applying SIPO Shift Register technology with Arduino. As developers can cascade Shift Registers, theoretically, the numbers of bit of digital output are not limited.

From the software viewpoint, this project is 2-tier application. For business logic that works as a middleware, Web Services is chosen because it is open standard that can serve clients from various technologies and platforms. Web Services server contains Web Methods for exchanging data with Arduino program.

Client applications for controlling devices through the Web Services are provided in 2 platforms, Classic Windows Form Application and ASP.NET Web Form Application. It means users can work from both local and remote networks.

 

ช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา สัญญาณดิจิตอลได้ถูกนำเข้ามาใช้ในการเฝ้าดูและควบคุมในอุตสาหกรรมหลากหลายระบบ ในอดีต กระบวนการจัดการเรื่องนี้ถือได้ว่าเป็นสิ่งซับซ้อน แต่หลังจากที่มีการเกิดขึ้นของไมโครคอนโทรลเลอร์งานเหล่านี้จัดได้ว่าง่ายขึ้น และยิ่งง่ายในการศึกษาความรู้แขนงนี้ขึ้นไปอีกเมื่อมีการเกิดขึ้นของอาดูอิโนซึ่งเป็นบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์สาเร็จรูปที่มีสถาปัตยกรรมแบบเปิด

กระนั้นอาดูอิโนก็มีข้อจำกัดที่จำนวนพอร์ตดิจิตอลสำหรับนำสัญญาณเข้าและออก โครงงานนี้ได้พยายามแก้ไขข้อจำกัดนี้โดยการประยุกต์เทคโนโลยี SIPO ชิฟรีจิสเตอร์เข้ากับอาดูอิโน เนื่องจากนักพัฒนาสามารถนำชิฟรีจิสเตอร์มาเชื่อมกันได้แบบต่อเนื่อง ในทางทฤษฎีแล้วจำนวนบิตของสัญญาณดิจิตอลขาออกจึงไม่ถูกจำกัด (ขยายได้ไม่จากัด)

ในมุมมองของการพัฒนาซอฟต์แวร์ โครงงานนี้ใช้สถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์แบบ ๒ ชั้น โดยในส่วนตรรกะธุรกิจซึ่งใช้เป็นซอฟแวร์คั่นกลางได้เลือกใช้เทคโนโลยีเว็บเซอร์วิสเนื่องจากเป็นมาตรฐานเปิดที่สามารถสนับสนุนซอฟต์แวร์ฝั่งผู้ใช้จากเทคโนโลยีและแพลตฟอร์มที่หลากหลาย เว็บเซอร์วิสเซิร์ฟเวอร์ประกอบด้วยเว็บเมธอดสาหรับแลกเปลี่ยนข้อมูลกับโปรแกรมของอาดูอิโน

ซอฟต์แวร์ฝั่งผู้ใช้สำหรับควบคุมอุปกรณ์ผ่านเว็บเซอร์วิสในโครงงานนี้ยกตัวอย่างไว้ ๒ แพลตฟอร์มคือ ซอฟต์แวร์แบบวินโดวส์ฟอร์มและ ASP.NET เว็บฟอร์ม ซึ่งการนี้ทำให้ผู้ใช้สามารถทางานกับระบบได้ทั้งจากเครือข่ายภายในและเครือข่ายระยะไกล

Article Details

Section
ACTIS Article